สะพานปัทมา
สะพานปัทมา | |
---|---|
পদ্মা সেতু | |
สะพานปัทมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2023 | |
พิกัด | 23°26′39″N 90°15′40″E / 23.4443°N 90.2610°E |
เส้นทาง | ยานยนต์ ทางรถไฟ |
ข้าม | แม่น้ำปัทมา |
ชื่อทางการ | สะพานอเนกประสงค์ปัทมา |
ชื่ออื่น | สะพานแห่งความฝัน[1] |
ตั้งชื่อตาม | แม่น้ำปัทมา |
เจ้าของ | Bangladesh Bridge Authority |
เว็บไซต์ | www |
ข้อมูลจำเพาะ | |
ประเภท | สะพานแบบโครง |
ความยาว | 6.15 กิโลเมตร (3.82 ไมล์) |
ความกว้าง | 18.18 เมตร (59.6 ฟุต) |
ความสูง | 120 เมตร (390 ฟุต) |
ความลึกของน้ำ | 29 เมตร (95 ฟุต)[2] |
จำนวนช่วง | 41 |
ขีดจำกัดบรรทุก | 10,000 ตัน[2] |
ประวัติ | |
ผู้ออกแบบ | AECOM |
ผู้สร้าง | China Major Bridge Engineering Co. Ltd. |
วันเริ่มสร้าง | 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2014 |
วันสร้างเสร็จ | 23 มิถุนายน ค.ศ. 2022[3] |
งบก่อสร้าง | ৳30,193.39 กรอร์ (3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)[4] |
เปิดตัว | 25 มิถุนายน ค.ศ. 2022 |
วันเปิด | 26 มิถุนายน ค.ศ. 2022 |
สถิติ | |
ค่าผ่าน | ใช่ |
ที่ตั้ง | |
สะพานอเนกประสงค์ปัทมา (เบงกอล: পদ্মা বহুমুখী সেতু, อักษรโรมัน: Pôdma Bôhumukhī Setu) โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อ สะพานปัทมา (เบงกอล: পদ্মা সেতু, อักษรโรมัน: Pôdma Setu) เป็นสะพานถนน-รางรถไฟสองชั้นที่ข้ามแม่น้ำปัทมา ลำน้ำแตกสาขาสายหลักของแม่น้ำคงคาในประเทศบังกลาเทศ[5][6] สะพานนี้เชื่อม Louhajang Upazila ของ Munshiganj กับ Zazira Upazila ของ Shariatpur และส่วนเล็กของ Shibchar Upazila ของ Madaripur นายกรัฐมนตรี Sheikh Hasina ทำหน้าที่เปิดใช้งานสะพานนี้ในตอนเช้าวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 2022[3]
สะพานนี้ถือเป็นโครงการก่อสร้างที่ท้าทายที่สุดในประวัติศาสตร์บังกลาเทศ สะพานแบบโครงเหล็กกล้ารองรับทางหลวงสี่เลนที่ชั้นบน[7] และทางรถไฟเลนเดียวที่ชั้นล่าง[8] สะพานนี้แบ่งออกเป็น 41 ส่วน แต่ละส่วนมีความยาว 150.12 เมตร (492.5 ฟุต) และกว้าง 22 เมตร (72 ฟุต) โดยทั้งหมดมีความยาว 6.15 กิโลเมตร (3.82 ไมล์)[6] ถือเป็นสะพานที่ยาวที่สุดในประเทศบังกลาเทศ[7] โดยสะพานนี้ทอดข้ามแม่น้ำคงคาทั้งช่วงและความยาวทั้งหมด และมีความลึกของเสาเข็มที่สูงที่สุดในบรรดาสะพานใด ๆ ของโลกที่ 120 เมตร (390 ฟุต)[9][10] และยังเป็นสะพานที่ลึกที่สุดในโลก โดยต้องตอกเสาเข็มลึกถึง 127 เมตร[11] การก่อสร้างสะพานถือว่ามีความท้าทายเป็นพิเศษเนื่องจากความกว้างและความลึกของแม่น้ำปัทมา
มีการคาดการณ์ว่าสะพานนี้จะเพิ่มจีดีพีบังกลาเทศสูงถึงร้อยละ 1.23[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Zaman, K Tanzeel (2022-07-07). "Over the Padma, by the bridge of dreams!". The Daily Star. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-05. สืบค้นเมื่อ 2022-08-05.
- ↑ 2.0 2.1 "Padma bridge: BAN Padma Multipurpose Bridge Project EIA" (PDF).
- ↑ 3.0 3.1 "Grand preparations made for Padma Bridge inauguration". The Daily Star. 24 June 2022. สืบค้นเมื่อ 24 June 2022.
- ↑ "Padma Bridge Fact Box". The Daily Star. 2022-06-25. สืบค้นเมื่อ 2022-08-05.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "By self-funding the Padma bridge, Dhaka has got the West off its back". The Economic Times (Opinion). สืบค้นเมื่อ 10 December 2020.
- ↑ 6.0 6.1 "Main Bridge Details (Technical)". Padma Multipurpose Bridge Project. สืบค้นเมื่อ 10 December 2020.
- ↑ 7.0 7.1 Foizee, Bahauddin (28 June 2022). "Bangladesh: Why a Bridge could Profoundly Impact Ruling Party's Popularity?". Oped Column Syndication.
- ↑ Sultana Munima (14 October 2014). "Korean co gets Pawdda bridge supervision work". The Financial Express. Dhaka. สืบค้นเมื่อ 11 November 2014.
- ↑ "Padma Bridge -- New Lifeline of Development". The Daily Star. 18 January 2016.
- ↑ ৩ বিশ্ব রেকর্ড করল পদ্মা সেতু. Jugantor (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 22 December 2020.
- ↑ "Take a look at Padma Bridge's world records". Dhaka Tribune. 2022-06-25. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-07. สืบค้นเมื่อ 2022-08-07.
- ↑ "Gains from Padma Bridge to cross $10b, hope experts". The Business Standard (ภาษาอังกฤษ). 2022-06-21. สืบค้นเมื่อ 2023-05-13.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- สะพานปัทมา ที่เฟซบุ๊ก
- Bangladesh Bridge Authority, Padma Multipurpose Bridge
- Padma Bridge will Change Destiny of Bangladesh เก็บถาวร 2021-06-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน