สมาคมเฟเบียน
หน้าตา
โลโก้สมาคมเฟเบียน | |
ชื่อย่อ | F.S. |
---|---|
ก่อตั้ง | 4 มกราคม 1884 |
สถานะตามกฎหมาย | Unincorporated membership association |
วัตถุประสงค์ | "To promote greater equality of power, wealth and opportunity; the value of collective action and public service; an accountable, tolerant and active democracy; citizenship, liberty and human rights; sustainable development; and multilateral international cooperation" |
สํานักงานใหญ่ | ลอนดอน, อังกฤษ, สหราชอาณาจักร |
ที่ตั้ง |
|
สมาชิก | 7,000 |
ภาษาทางการ | อังกฤษ |
เลขาธิการ | แอนดรูว์ ฮาร์รอป |
องค์กรแม่ | Executive Committee, Chair, เคธ กรีน |
หน่วยงานในกํากับ | ยังเฟเบียน, เฟเบียนวูแมนส์เน็ตเวิร์ก, สกอตติชเฟเบียน, สมาคมเฟเบียนท้องถิ่นอีก 60 ที่ |
สังกัด | พรรคแรงงาน, Foundation for European Progressive Studies |
เว็บไซต์ | fabians |
สมาคมเฟเบียน (อังกฤษ: Fabian Society) เป็นองค์การสังคมนิยมบริติชโดยมีความมุ่งหมายเพื่อผลักดันหลังสังคมนิยมผ่านวิธีค่อยเป็นค่อยไปและปฏิรูป[1][2] สมาคมนี้วางรากฐานจำนวนมากของพรรคแรงงานและต่อมามีผลต่อนโยบายของรัฐตั้งแต่การให้เอกราชของจักรวรรดิบริติช ที่เด่นที่สุดคือ อินเดียและสิงคโปร์
ทีแรกสมาคมเฟเบียนมุ่งมั่นสถาปนาเศรษฐกิจสังคมนิยม ร่วมกับมุ่งมั่นต่อจักรวรรดินิยมบริติชโดยเป็นกำลังก้าวหน้าและทำให้ทันสมัย[3]
ปัจจุบัน สมาคมนี้ทำหน้าที่เป็นธิงก์แท็งก์ (think tank) และเป็นหนึ่งในสิบห้าสมาคมสังคมนิยมซึ่งเข้าร่วมกับพรรคแรงงาน มีสมาคมคล้ายกันในประเทศออสเตรเลีย แคนาดา ซิซิลี และประเทศนิวซีแลนด์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ George Thomson (1 March 1976). "THE TINDEMANS REPORT AND THE EUROPEAN FUTURE" (PDF).
- ↑ Margaret Cole (1961). The Story of Fabian Socialism. Stanford University Press. ISBN 978-0804700917.
- ↑ Discovering Imperialism: Social Democracy to World War I, Nov 25, 2011. (p. 249): "...the pro-imperialist majority, led by Sidney Webb and George Bernard Shaw, advanced an intellectual justification for central control by the British Empire, arguing that existing institutions should simply work more 'efficiently'."