สถาบันโพลิเทคนิคเรนส์ซเลียร์
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความเรื่อง สถาบันโพลิเทคนิคเรนส์ซเลียร์ ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น ถ้าคุณเป็นผู้เขียนเรื่องนี้หรือต้องการร่วมแก้ไข สามารถทำได้โดยกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน ดูรายละเอียดและวิธีการเขียนได้ที่ โครงการวิกิสถานศึกษา โดยเมื่อแก้ไขแล้วให้นำป้ายนี้ออกได้ |
สถาบันโพลิเทคนิคเรนส์ซเลียร์ ( Rensselaer Polytechnic Institute ), หรือ RPI, เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในเมือง ทรอย นิวยอร์ก, ซึ่งเป็นเมืองที่อยู่ติดกับเมือง อัลบานี เมืองหลวงของ นิวยอร์ก RPI ได้ถูกก่อตั้งในปี ค.ศ. 1824 โดย by นายสตีเฟน วาน เรนส์ซเลียร์ โดยจัดตั้งเพื่อ "ศึกษาการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ให้เป็นประโยชน์ต่อชีวิตประจำวัน", และยังเป็นมหาวิทยาลัยทางเทคโนโลยีที่เก่าแก่ที่สุด ที่ศึกษาด้วยภาษาอังกฤษ [1] RPI เป็นที่รู้จักดีในความสำเร็จ ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากห้องแลบไปสู่ตลาด
จุดมุ่งหมายของ RPI ได้วิวัฒนาการอย่างช้าๆ โดยยังคงรักษาจุดแข็งในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามจุดมุ่งหมายเดิมเอาไว้ ในปี ค.ศ. 1995 จุดมุ่งหมายของ RPI ได้เปลี่ยนเป็น "อบรมผู้นำของวันพรุ่งนี้สำหรับอาชีพในด้านเทคโนโลยี" RPI ส่งเสริมการค้นพบใหม่ๆ และการใช้เทคโนโลยีอย่างมีความรับผิดชอบ เพื่อสร้างความรู้ และความเจริญ
ประวัติ
[แก้]อันดับแรกของ RPI
[แก้]- ค.ศ. 1824 - RPI ได้เป็นมหาวิทยาลัยด้านเทคโนโลยีแห่งแรกของโลก ที่ศึกษาด้วยภาษาอังกฤษ
- ค.ศ. 1835 - RPI ได้มอบปริญญาวิศวกรรมโยธา เป็นแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา [2]
- ค.ศ. 1864 - อัลฟาแชปเตอร์ (Alpha Chapter) ของ เทตา ไซ (Theta Xi) เปิดขึ้นที่ RPI เป็นแห่งแรก
- ค.ศ. 1909 - ศิษย์เก่าของพิตต์สเบิร์ก ได้ให้ทุนในการก่อสร้างตึกพิตต์สเบิร์ก นี่เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์อเมริกา ที่ศิษย์เก่าของเมืองเมืองหนึ่ง ช่วยกันหาเงินเพียงพอที่จะสร้างตึกในมหาวิทยาลัย[3]
- ค.ศ. 1980 - RPI ได้ก่อตั้งโรงช่วยพัฒนาทางธุรกิจ (Incubator) เป็นแห่งแรกที่สนับสนุนและดำเนินงานโดยมหาวิทยาลัย[4]
การศึกษา
[แก้]แผนงานของเรนส์ซเลียร์
[แก้]คณะ
[แก้]อันดับ
[แก้]งานวิจัยและพัฒนา
[แก้]แคมปัส
[แก้]องค์กรนักศึกษา
[แก้]การกีฬา
[แก้]ชีวิตนักศึกษา
[แก้]ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "RPI History Main Page". สืบค้นเมื่อ 2007-01-21.
- ↑ Griggs, Francis E Jr. "Amos Eaton was Right!". Journal of Professional Issues in Engineering Education and Practice , Vol. 123, No. 1, January 1997, pp. 30-34. See also RPI Timeline เก็บถาวร 2014-07-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "History of the Pittsburgh Building". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-10-30. สืบค้นเมื่อ 2007-01-21.
- ↑ "RPI's Incubator Program History".