ข้ามไปเนื้อหา

สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วิธีใช้

[แก้]

1. สามารถเพิ่มภาพที่ได้รับการเสนอชื่อและคัดเลือกแล้วในเป็นหัวข้อย่อยในหน้านี้ โดยใช้แบบฟอร์มดังนี้

:[[สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ(ตามด้วยตัวเลขลำดับที่ภาพ)]]
{{สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ(ตามด้วยตัวเลขลำดับที่ภาพ)}}
{{clear}}
----

2. แก้ไขค่าพารามิเตอร์ "max=" ตามจำนวนภาพในหน้านี้ ที่หน้าสถานีย่อย:แพทยศาสตร์

ภาพแนะนำ

[แก้]
สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ1
ตาของมนุษย์

ที่มาของภาพ: Original uploader was Che (CC-BY-2.5)


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ2
เอ็มบริโอมนุษย์ อายุครรภ์ 7 สัปดาห์

ที่มาของภาพ: http://www.flickr.com/photos/euthman/304334264


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ3
ตัวอสุจิพยายามเข้าไปในเซลล์ไข่เพื่อปฏิสนธิ

สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ4
ปมประสาทด้านหลัง (dorsal root ganglion) จากเอ็มบริโอของไก่ (ประมาณระยะัวันที่ 7) หลังจากเลี้ยงในตัวกลางกระตุ้นการเจริญของเซลล์ประสาท NGF growth medium

สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ5
หัวใจของมนุษย์

ที่มาของภาพ: en:User:Stanwhit607


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ6
ภาพจากหนังสือ De humani corporis fabrica ของเวซาเลียส หน้า 164 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1543 มีคำอธิบายว่า "Drawing of the Bones of the Human Body, Seen from the Side" (ภาพวาดกระดูกในร่างกายมนุษย์ มองจากด้านข้าง)

ที่มาของภาพ: User:Encephalon


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ7
คาริโอไทป์ของมนุษย์ โดยใช้สีเพื่อแยกโครโมโซมแต่ละคู่

ทีมาของภาพ: nih.gov


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ8
การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (CT scan)

ที่มาของภาพ: en:User:Sundar


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ9
แผนภาพตัวอสุจิของมนุษย์

ที่มาของภาพ: User:LadyofHats


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ10
การแพร่กระจายของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง จากฮ่องกงในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2546

ที่มาของภาพ: http://www.odci.gov/nic/special_sarsthreat.html


สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/ภาพแนะนำ11
แพทย์ให้วัคซีนป้องกันโรคไข้รากสาดน้อยในโรงเรียนชนบทที่ซานออกุสตีน รัฐเทกซัส เมื่อเมษายน ค.ศ. 1943 การให้วัคซีนคือการให้สารแอนติเจน (วัคซีน) เข้าในร่างกายเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรค วิธีการดังกล่าวเป็นการป้องกันโรคติดเชื้อที่มีประสิทธิผลและคุ้มค่ามากที่สุด

ที่มาของภาพ: John Vachon, FSA