สกุลหนอนตายหยาก
สกุลหนอนตายหยาก | |
---|---|
Stemona curtisii[1] | |
Stemona japonica | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Monocots |
อันดับ: | Pandanales |
วงศ์: | Stemonaceae |
สกุล: | Stemona Lour. |
ชื่อพ้อง[2] | |
Roxburghia Roxb. |
สกุลหนอนตายหยาก หรือ Stemona เป็นสกุลของไม้เถาหรือไม้กึ่งพุ่มในวงศ์ Stemonaceae ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2333[3][4]Stemona เป็นพืชพื้นเมืองใน จีน อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปาปัว และ ออสเตรเลีย[2][5]
สปีชีส์
[แก้]ตัวอย่างชนิดพันธุ์ในสกุลหนอนตายหยาก[2]
- S. angusta I.Telford - ควีนส์แลนด์
- S. aphylla Craib - ไทย
- S. australiana (Benth.) C.H.Wright นิวกินี, นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี, เวสเทิร์นออสเตรเลีย, ควีนส์แลนด์
- S. burkillii Prain - ไทย, พม่า
- S. cochinchinensis Gagnep. - เวียดนาม
- S. collinsiae Craib - ไทย
- S. curtisii Hook.f. - ศรีลังกา, นิโคบาร์, ไทย, เลปาร์
- S. griffithiana Kurz - พม่า
- S. hutanguriana Chuakul - ไทย
- S. involuta Inthachub - ไทย
- S. japonica (Blume) Miquel - จีนตะวันออกเฉียงใต้, ญี่ปุ่น
- S. javanica (Kunth) Engl. - ชวา, มาลูกู, บิสมาร์ก, นิวกินี
- S. kerrii Craib - ยูนนาน, ไทย, เวียดนาม
- S. kurzii Prain - พม่า
- S. lucida (R.Br.) Duyfjes - ควีนส์แลนด์, นิวกินี, ฟิลิปปินส์
- S. mairei (H.Léveillé) K.Krause - เสฉวน, ยูนนาน
- S. parviflora C.H.Wright - ไหหลำ
- S. phyllantha Gagnep. - ไทย
- S. pierrei Gagnep. - เวียดนาม, ลาว
- S. prostrata I.Telford - นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี
- S. temona rupestris Inthachub - ไทย
- S. sessilifolia (Miq.) Miq. - จีนตะวันออกเฉียงใต้
- S. squamigera Gagnep. - ลาว
- S. tuberosa Lour. - จีน, อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, นิวกินี
บันทึกซากดึกดำบรรพ์
[แก้]ซากดึกดำบรรพ์เมล็ดพันธุ์ 2 เมล็ดของ †Stemona germanica จากช่วงต้นสมัยไมโอซีน ถูกพบในเหมืองกริซตินา (Kristina) ที่เมืองฮราเด็ก นัด ญิโซ (Hrádek nad Nisou) ในภูมิภาคโบฮีเมียเหนือ, สาธารณรัฐเช็ก ยังมีการบันทึกการค้นพบฟอสซิลของเมล็ด Stemona germanica จากเมืองฮาร์เทา (Hartau) รัฐซัคเซิน, เยอรมนี ที่อยู่ใกล้เคียง มีบันทึกการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของเมล็ด Stemona จากหลายแหล่งในยุโรปโดยมีอายุตั้งแต่สมัยมาสทริชเตียนไปจนถึงปลายสมัยไมโอซีน[6]
การใช้ประโยชน์
[แก้]Stemona tuberosa (จีน: 百部; พินอิน: bǎi bù ) เป็นหนึ่งในสมุนไพรพื้นฐาน 50 ชนิดที่ใช้ในการแพทย์แผนจีน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1892 illustration by J.N. Fitch (d. 1927) - Curtis's Botanical Magazine v.118 [ser. 3:v.48] (1892)
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Kew World Checklist of Selected Plant Families[ลิงก์เสีย]
- ↑ Loureiro, João de. 1790. Flora cochinchinensis : sistens plantas in regno Cochinchina nascentes. Quibus accedunt aliae observatae in Sinensi imperio, Africa Orientali, Indiaeque locis variis. Omnes dispositae secundum systema sexuale Linnaeanum 2: 401, 404 in Latin
- ↑ Tropicos, Stemona Lour.
- ↑ Flora of China Vol. 24 Page 70 百部属 bai bu shu Stemona Loureiro, Fl. Cochinch. 2: 401, 404. 1790.
- ↑ F. Holý, Z. Kvaček and Vasilis Teodoridis (January 2012). A review of the early Miocene Mastixioid flora of the Kristina Mine at Hrádek nad Nisou in North Bohemia, The Czech Republic . ACTA MUSEI NATIONALIS PRAGAE Series B – Historia Naturalis. 68 (3–4). pp. 53–118. ISSN 0036-5343. S2CID 209423646.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "Stemona Lour". ดัชนีชื่อพืชของออสเตรเลีย (Australian Plant Name Index, APNI), ฐานข้อมูล IBIS. ศูนย์วิจัยความหลากทางชีวภาพทางพืช รัฐบาลประเทศออสเตรเลีย.
- Germplasm Resources Information Network: Stemona