วี.พรีเมียร์ลีก
หน้าตา
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน: วี.พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2017–18 | |
กีฬา | วอลเลย์บอล |
---|---|
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1994 |
แทนที่โดย | วี.ลีก (V.LEAGUE) |
จำนวนทีม | ชาย: 8 ทีม หญิง: 8 ทีม |
ประเทศ | ญี่ปุ่น |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ชาย: พานาโซนิคแพนเทอส์ หญิง: ฮิซามิตสึสปริงส์ |
หุ้นส่วนโทรทัศน์ | Gaora, NHK |
เว็บไซต์ | http://www.vleague.or.jp/ |
วี.พรีเมียร์ลีก (ญี่ปุ่น: V・プレミアリーグ; อังกฤษ: V.Premier League) เป็นลีกวอลเลย์บอลระดับสูงสุดของประเทศญี่ปุ่น จัดขึ้นโดยสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลญี่ปุ่นและองค์การลีกวอลเลย์บอลญี่ปุ่น (Japan Volleyball League Organization) โดยมี 8 ทีมเข้าร่วมทั้งทีมชายและหญิง
วี.พรีเมียร์ลีกสิ้นสุดในฤดูกาล 2017–18 และจะจัดขึ้นใหม่ภายใต้ชื่อ วี.ลีก (V.LEAGUE) ตั้งแต่ฤดูกาล 2018–19[1]
ประวัติ
[แก้]วี.ลีก ก่อขึ้นในปี ค.ศ. 1994 ในช่วงฤดูกาล 1967–1994 ลีกได้ใช้ชื่อว่า เจแปนนีสวอลเลย์บอลลีก และในปี ค.ศ. 2006 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น วี・พรีเมียร์ลีก
ชื่อรายการแข่งขัน
[แก้]- ฤดูกาล 1967-68 – 1993-94: เจแปนนีสวอลเลย์บอลลีก
- ฤดูกาล 1994-95 – 2005-06: วี.ลีก
- ฤดูกาล 2006-07 – 2017-18: วี・พรีเมียร์ลีก
ทีมในฤดูกาล 2017–18
[แก้]- ชาย (8 ทีม)[2]
- เจที ธันเดอร์
- ซันโทรี่ซันเบิดส์
- โทโยดะโกเซย์เตรฟวยร์ซา
- โอซากะเบลเซอส์ซาไก
- เจทีอีเคทีสติงส์
- พานาโซนิคแพนเทอส์
- โทเรย์แอร์โรส์
- เอฟซี โตเกียว
- หญิง (8 ทีม)[3]
- เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ตส์
- ฮิซามิตสึสปริงส์
- โอกายามะซีกัลส์
- ฮิตาชิรีวาเล
- โทเรย์แอร์โรส์
- โตโยต้าออโตบอดีควินชิสึ
- เจที มาร์เวลลัส
- พีเอฟยู บลูแคตส์
ทำเนียบแชมป์
[แก้]เจแปนนีสลีก
[แก้]ฤดูกาล | ครั้งที่ | ทีมชาย | ทีมหญิง |
---|---|---|---|
1967 | 1 | ยาฮาตะ สตีล | ฮิตาชิ มูซาชิ |
1968 | 2 | นิฮงโกกัง (NKK) | ฮิตาชิ มูซาชิ |
1969 | 3 | นิฮงโกกัง (NKK) | ยูนิชิกะ ไคซูกะ |
1970 | 4 | นิฮงโกกัง (NKK) | ยูนิชิกะ ไคซูกะ |
1971 | 5 | มัตสึชิตะ อีเล็กทริก | ยูนิชิกะ ไคซูกะ |
1972 | 6 | นิฮงโกกัง (NKK) | ยาชิกะ |
1973 | 7 | ชินนิฮงสตีล | ฮิตาชิ มูซาชิ |
1974 | 8 | ชินนิฮงสตีล | ฮิตาชิ มูซาชิ |
1975 | 9 | ชินนิฮงสตีล | ฮิตาชิ |
1976 | 10 | ชินนิฮงสตีล | ฮิตาชิ |
1977 | 11 | นิฮงโกกัง | ฮิตาชิ |
1978 | 12 | ชินนิฮงสตีล | คาเนโบ |
1979 | 13 | ชินนิฮงสตีล | ยูนิชิกะ |
1980 | 14 | ชินนิฮงสตีล | ยูนิชิกะ |
1981 | 15 | ฟูจิโฟโตฟิล์ม | ฮิตาชิ |
1982 | 16 | ชินนิฮงสตีล | ฮิตาชิ |
1983 | 17 | ฟูจิโฟโตฟิล์ม | ฮิตาชิ |
1984 | 18 | ฟูจิโฟโตฟิล์ม | ฮิตาชิ |
1985 | 19 | ฟูจิโฟโตฟิล์ม | ฮิตาชิ |
1986 | 20 | ฟูจิโฟโตฟิล์ม | ฮิตาชิ |
1987 | 21 | ฟูจิโฟโตฟิล์ม | เอ็นอีซี |
1988 | 22 | ชินนิฮงสตีล | ฮิตาชิ |
1989 | 23 | ชินนิฮงสตีล | อิโตโยกะโด |
1990 | 24 | ชินนิฮงสตีล | ฮิตาชิ |
1991 | 25 | เอ็นอีซี | ฮิตาชิ |
1992 | 26 | ฟูจิโฟโตฟิล์ม | ฮิตาชิ |
1993 | 27 | เอ็นอีซี | ฮิตาชิ |
วี-ลีก
[แก้]ฤดูกาล | ครั้งที่ | ทีมชาย | ทีมหญิง |
---|---|---|---|
1994 | 1 | ซันโทรี่ | ยูนิชิกะ |
1995 | 2 | เอ็นอีซี | ยูนิชิกะ |
1996 | 3 | ชินนิฮงสตีล | เอ็นอีซี |
1997 | 4 | ชินนิฮงสตีล | ไดเอ |
1998 | 5 | เอ็นอีซี | โตโยโบ |
1999 | 6 | ซันโทรี่ | เอ็นอีซี |
2000 | 7 | ซันโทรี่ | โตโยโบ |
2001 | 8 | ซันโทรี่ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2002 | 9 | ซันโทรี่ | เอ็นอีซี |
2003 | 10 | ซันโทรี่ | ไพโอเนียร์เรดวิงส์ |
2004 | 11 | โทเรย์แอร์โรส์ | เอ็นอีซี |
2005 | 12 | โอซากะเบลเซอส์ซาไก | ไพโอเนียร์เรดวิงส์ |
วี・พรีเมียร์ลีก
[แก้]ฤดูกาล | ทีมชาย | ทีมหญิง |
---|---|---|
2006/2007 | ซันโทรี่ซันเบิดส์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2007/2008 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | โทเรย์แอร์โรส์ |
2008/2009 | โทเรย์แอร์โรส์ | โทเรย์แอร์โรส์ |
2009/2010 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | โทเรย์แอร์โรส์ |
2010/2011 | โอซากะเบลเซอส์ซาไก | เจที มาร์เวลลัส |
2011/2012 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | โทเรย์แอร์โรส์ |
2012/2013 | โอซากะเบลเซอส์ซาไก | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2013/2014 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2014/2015 | เจที ธันเดอร์ | เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ตส์ |
2015/2016 | โทโยดะโกเซย์เตรฟวยร์ซา | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2016/2017 | โทเรย์แอร์โรส์ | เอ็นอีซีเรดร็อกเก็ตส์ |
2017/2018 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "新リーグ・ライセンス取得状況について". Vリーグ機構. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-28. สืบค้นเมื่อ 2017-12-28.
- ↑ [1] เก็บถาวร 2014-12-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ [2] เก็บถาวร 2012-04-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- http://www.vleague.or.jp/ - V.League official site (Japanese)