วิกิพีเดีย:เสนอบทความคุณภาพ/รักแห่งสยาม
หน้าตา
- รักแห่งสยาม ถูกเสนอเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และจะได้รับการพิจารณาภายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551
- เสนอชื่อ ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 14:47, 17 ธันวาคม 2007 (ICT)
- สนับสนุน
- ข้อมูลเยอะดีครับ หลายอย่างที่ไม่รู้ก็มาได้รู้จากบทความนี้ สนับสนุนครับ (รัก รักแห่งสยาม ครับ) --Zenith Zealotry | พูดคุย | 20:30, 22 ธันวาคม 2007 (ICT)
- มีข้อมูลหลายด้านดีครับ --Lerdsuwa 22:01, 22 ธันวาคม 2007 (ICT)
- มีข้อมูลชัดเจนมาก สนับสนุนครับ--Mini Blossom • คุยแค่คลิก 24 ธันวาคม 2007 (ICT)
- Glass mask 00.42 นาฬิกา วันที่ 28 ธันวาคม 2550
- เนื้อหาสมบูรณ์ดีครับ -- Portalian 11:06, 28 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ดีครับ--ScorpianPK คุยแค่ "คลิก" 17:29, 28 ธันวาคม 2550 (ICT)
- คัดค้าน
- เสนอแนะการปรับปรุง
- เราจะรู้ได้ยังไงว่า เรื่องย่อ และ ตัวละคร เป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือและพิสูจน์ข้อเท็จจริงได้ เพราะไม่มีอ้างอิงเลย--Blacknut 15:08, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ก็ไปดูหนังสิครับ ข้อมูลเหล่านี้ก็อ้างอิงมาจากหนังนั่นแหละ บทความที่มีเนื้อเรื่องย่อ มันเป็นสิ่งที่ปรากฏในภาพยนตร์ เป็นการเล่าออกมาอย่างย่อ ผมไม่เห็นจะมีใครทำอ้างอิงในส่วนนี้เลย เพราะเราไม่สามารถใส่อ้างอิงไปยังเนื้อเรื่องในภาพยนตร์ได้ แม้แต่บทความคัดสรรเกี่ยวกับภาพยนตร์ต่างๆ ของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษที่ว่าเข้มงวดมากกว่า ขนาดบทความคัดสรรยังไม่ใส่ แล้วจะเอาอะไรกับระดับคุณภาพที่อยู่รองลงมาละครับ --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 15:24, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ครับ ในบทความคัดสรรของภาษาอังกฤษเองอย่าง ในส่วนของเนื้อเรื่องอย่าง en:300 (film) en:Casino Royale (2006 film) en:Kung Fu Hustle Star Wars Episode IV: A New Hope ...และอีกมากมายที่เป็นบทความคัดสรร ไม่มีการอ้างอิงเช่นกัน --Sry85 15:35, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ตอบมาแบบนี้มันเหมาะสมหรือเปล่า ไล่ไปดูหนังเนี่ยะ ที่นี่คือสารานุกรมที่ให้ข้อเท็จจริงไม่ใช่เหรอ เราสงสัยเราเลยถาม แล้วคนที่ไม่ดูหนังมามันจะรู้ไหมว่าไอ้ที่เขียน ๆ เนี่ยะมันเป็นจริง ตอบได้น่าเกลียดมาก ๆ ไม่มีเหตุผลเลย ถ้าจะไล่ไปดูหนัง ก็เอา วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้ ออกไปจากหลักเกณฑ์บทความคุณภาพซะเราเสียเวลานั่งอ่านหลักเกณฑ์บทความคุณภาพตั้งนาน แล้วถึงมานั่งดูว่าแต่ละบทความมันมีอะะไรที่บกพร่องบ้าง แต่ดันมาเจอคำตอบ ไปดูหนังสิ น่าเกลียดมาก ๆ สิ่งที่ควรจะทำ คือ ชี้แจงเหตุผลว่าทำไมถึงไม่ใส่ ทำไมถึงละเลยวิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้เป็นกรณีพิเศษ ไม่ใช่มาตอบแบบไปดูหนังสิ เรามันจนไม่มีตังค์ไปดูหนังก็หวังมาพึ่งสารานุกรมอ่าน อ่านแล้วก็สงสัยว่ามันจริงเปล่า แต่สุดท้ายก็ไล่ไปดูหนัง แล้วที่เอาภาษาอังกฤษมาอ้างนั้น ต้องยกเหตุผลของเขามาอ้างว่าทำไมเขาถึงไม่ใส่ ไม่ใช่บอกแค่ว่าก็ขนาดเขาไม่ใส่ เราจะใส่ทำไม จะทำอะไรต้องมีเหตุและผลรองรับ ไม่ใช่ดึงของเขามาใช้โดยไม่อ่านเหตุผล แบบนี้มันจะไม่เกิดการพัฒนา และ ที่สงสัยคือเนื้อเรื่อง และตัวละคร แต่ทำไมมตอบเนื้อเรื่องอย่างเดียว--Blacknut 15:52, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ข้อเท็จจริงคือ "เราไม่สามารถใส่อ้างอิงไปยังเนื้อเรื่องในภาพยนตร์ได้" แค่นั้นแหละครับ อย่างอื่นเป็นสิ่งที่ผมยกมาประกอบ ผมรู้อยู่แล้วว่าตอบเฉพาะเนื้อเรื่อง เรื่องตัวละครผมไม่ได้ตอบด้วย ต้องถามคนเขียน --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 15:59, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- แล้วแบบนี้จะมี วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้ ไว้ทำไมล่ะ เอาออกไปดีกว่า หรือที่จริงนะ เราว่า ทางอังกฤษเขาน่าจะให้เหตุผลไว้แล้ว น่าจะเอามาใส่ชี้แจงในนี้จะดีกว่า หรือว่าเขียนหลักออกมาเป็นพิเศษไปเลยว่า เนื้อเรื่องย่อนั้น ไม่ต้องใส่อ้างอิง หรือไปหาเวปไซต์ที่เขียนเรื่องย่อมาอ้างอิงก็จบ ซึ่งเป็นคำตอบที่ดูเหมาะสมกว่า "ไปดูหนังสิ" แน่นอน--Blacknut 16:04, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- เหตุผลเดียวกับที่ผมกล่าวไว้ในตอนต้นครับ en:Wikipedia:MOSFILMS#Plot --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 16:12, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ส่วนเรื่องตัวละคร เหตุผลก็เช่นเดียวกับเนื้อเรื่อง แต่อะไรที่อยู่นอกเหนือไม่มีบอกในหนังจะมีการอ้างอิง --Sry85 18:04, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- แปลเอามาลงด้วยสิ จะได้ใช้เป็นเกณฑ์ในนี้ เอาแนวทางในการเขียนของโปรเจคหนังมาใช้ แต่ในนี้ยังไม่มีนะ ถึงแม้จะขัดกับ วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้ ก็ตาม ถ้าจะให้เป็นที่ยอมรับ ต้องเขียนลงมาในนี้เลย จะได้มีแนวทางที่ชัดเจน และคิดว่าถ้าจะใช้แนวเดียวกันนี้ เนื้อเรื่องย่อทั้งหมดในนี้ต้องได้รับการยกเว้นเช่นเดียว รวมทั้งการ์ตูน ด้วย--Blacknut 16:21, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- แล้วแบบนี้จะมี วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้ ไว้ทำไมล่ะ เอาออกไปดีกว่า หรือที่จริงนะ เราว่า ทางอังกฤษเขาน่าจะให้เหตุผลไว้แล้ว น่าจะเอามาใส่ชี้แจงในนี้จะดีกว่า หรือว่าเขียนหลักออกมาเป็นพิเศษไปเลยว่า เนื้อเรื่องย่อนั้น ไม่ต้องใส่อ้างอิง หรือไปหาเวปไซต์ที่เขียนเรื่องย่อมาอ้างอิงก็จบ ซึ่งเป็นคำตอบที่ดูเหมาะสมกว่า "ไปดูหนังสิ" แน่นอน--Blacknut 16:04, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ขอโทษครับ ผมพูดผิดก็เลยทำให้คุณเข้าใจผิด ผมควรจะพูดว่า "การพิสูจน์ยืนยันในเนื้อเรื่องย่อสามารถดูได้จากภาพยนตร์จริง" ไม่ใช่ "ไม่สามารถอ้างอิงจากภาพยนตร์ได้" ดังนั้นนโยบายการพิสูจน์ยืนยันได้ ยังใช้ได้ผลอยู่ครับ ไม่ได้ยกเว้นแต่อย่างใด แม้จะไม่มี citation ปรากฏก็ตาม การพิสูจน์ยืนยันได้ กับการอ้างอิง เป็นคนละเรื่องกัน เมื่อมีการอ้างอิงแล้วการพิสูจน์ก็จะตามมา ดังนั้นหากสามารถพิสูจน์ได้อยู่แล้วก็ไม่จำเป็นต้องอ้างอิง --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 20:07, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ครับ ในบทความคัดสรรของภาษาอังกฤษเองอย่าง ในส่วนของเนื้อเรื่องอย่าง en:300 (film) en:Casino Royale (2006 film) en:Kung Fu Hustle Star Wars Episode IV: A New Hope ...และอีกมากมายที่เป็นบทความคัดสรร ไม่มีการอ้างอิงเช่นกัน --Sry85 15:35, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)
- ก็ไปดูหนังสิครับ ข้อมูลเหล่านี้ก็อ้างอิงมาจากหนังนั่นแหละ บทความที่มีเนื้อเรื่องย่อ มันเป็นสิ่งที่ปรากฏในภาพยนตร์ เป็นการเล่าออกมาอย่างย่อ ผมไม่เห็นจะมีใครทำอ้างอิงในส่วนนี้เลย เพราะเราไม่สามารถใส่อ้างอิงไปยังเนื้อเรื่องในภาพยนตร์ได้ แม้แต่บทความคัดสรรเกี่ยวกับภาพยนตร์ต่างๆ ของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษที่ว่าเข้มงวดมากกว่า ขนาดบทความคัดสรรยังไม่ใส่ แล้วจะเอาอะไรกับระดับคุณภาพที่อยู่รองลงมาละครับ --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 15:24, 31 ธันวาคม 2550 (ICT)