วิกิพีเดีย:เสนอบทความคุณภาพ/ทุเรียน
หน้าตา
- ทุเรียน ถูกเสนอเมื่อ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 และจะได้รับการพิจารณาภายในวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
- เสนอชื่อโดย Chale yan
- สนับสนุน
- สนับสนุน เป็นบทความคัดสรรได้เลย --Sry85 21:59, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- สนับสนุน ควรเสนอเป็นบทความคัดสรรได้แล้วครับ ของภาษาอังกฤษที่เป็นต้นฉบับก็เป็นบทความคัดสรร --taweethaも 20:19, 16 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- คัดค้าน
- เสนอแนะการปรับปรุง
- ในบางส่วนที่มีคำว่า "คลิก [แสดง] เพื่อดูรายละเอียดของทุเรียนพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมาก" คืออะไรครับ? --Sry85 23:35, 7 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- เป็นลักษณะทางพฤษศาสตร์ของทุเรียนพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมากในประเทศไทยครับ ผมซ่อนไว้เพราะมีอธิบายในลักษณะของสปีชีส์แล้ว แต่เกิดถ้ามีใครอยากรู้ว่าแต่ละพันธุ์เป็นอย่างไรสามารถคลิกแสดงเพื่อดูรายละเอียดได้ครับ --Chale yan 19:45, 8 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- แล้วส่วน คลิก [แสดง] เพื่อดูวิธีการสังเกตว่าทุเรียนพันธุ์ชนิด D. zibethinus ว่าสุกแล้ว ล่ะครับ ย้ายไปวิกิตำราดีกว่าไหม --Horus | พูดคุย 19:55, 8 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ย้ายออกมาข้างนอกแล้วครับ--Chale yan 09:11, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ส่วน "มังคุดได้รับฉายาว่าเป็นราชินีแห่งผลไม้" คิดว่าไม่จำเป็นครับ --Horus | พูดคุย 19:55, 8 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ส่วนที่เป็นคำกล่าวบางส่วนไม่มีแหล่งอ้างอิงครับ --Horus | พูดคุย 19:55, 8 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ส่วนไหนครับ --Chale yan 06:28, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ส่วนย่อหน้าแรก (ย่อหน้า 0 ใน สจห.) ครับ ที่ว่าหอม/เหม็น ถูกไม่ถูกกับโรคอะไรเนี่ยครับ อาจจะมีอ้างอิงในส่วนของบทความด้านล่าง แต่ในย่อหน้าสรุปยังไม่มี--taweethaも 10:42, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- จะให้อ้างอิงซ้ำหรือครับ --Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ครับ เอกสารอ้างอิงชิ้นหนึ่ง อ้างได้หลายแห่งในบทความ และ ราชาของผลไม้ อันนี้ก็ควรมีอ้างอิงครับ--taweethaも 22:18, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ผมหมายถึงข้อความในบทนำมีการกล่าวถึงซ้ำอีกครั้งในเนื้อเรื่องและในส่วนเนื้อเรื่องที่กล่าวซ้ำนั้นมีการอ้างอิงไปแล้วครับ ส่วน ราชาของผลไม้ เดี๋ยวจัดให้ครับ --Chale yan 07:27, 10 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ย่อหน้าสรุปก่อนมันก็เหมือนบทคัดย่อ ย่อมจะมีเรื่องราวซ้ำได้ แต่ถ้าเขียนให้ดีโดยใช้สำนวนต่างกันก็ไม่น่าเบื่อครับ ส่วนการอ้างอิงวิกิพีเดียเริ่มตั้งแต่ย่อหน้าแรกเลยครับไม่เหมือนบทความบางประเภทที่เว้นการอ้างอิงในบทคัดย่อ และเมื่อถึงในส่วนเนื้อหาก็อ้างอิงซ้ำได้อีกครับ --taweethaも 03:18, 12 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- แหะ ๆ ผมหมายถึงส่วนใน ประวัติทุเรียนในประเทศไทย น่ะครับ คิดว่ามีส่วนที่ยกคำพูดมาแล้วไม่อ้างอิงอยู่ที่หนึ่งครับ (แต่ถ้าผู้เขียนพบเพิ่มเติมก็ช่วยตรวจสอบด้วยนะครับ) --Horus | พูดคุย 08:09, 12 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- อ้อ..ผมยกไปอ้างอิงในส่วนล่างของหัวข้อเลยเลยเพราะเอามาจากที่เดียวกัน แต่เดี๋ยวจะเพิ่มให้ครับ--Chale yan 17:53, 12 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- แหะ ๆ ผมหมายถึงส่วนใน ประวัติทุเรียนในประเทศไทย น่ะครับ คิดว่ามีส่วนที่ยกคำพูดมาแล้วไม่อ้างอิงอยู่ที่หนึ่งครับ (แต่ถ้าผู้เขียนพบเพิ่มเติมก็ช่วยตรวจสอบด้วยนะครับ) --Horus | พูดคุย 08:09, 12 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ย่อหน้าสรุปก่อนมันก็เหมือนบทคัดย่อ ย่อมจะมีเรื่องราวซ้ำได้ แต่ถ้าเขียนให้ดีโดยใช้สำนวนต่างกันก็ไม่น่าเบื่อครับ ส่วนการอ้างอิงวิกิพีเดียเริ่มตั้งแต่ย่อหน้าแรกเลยครับไม่เหมือนบทความบางประเภทที่เว้นการอ้างอิงในบทคัดย่อ และเมื่อถึงในส่วนเนื้อหาก็อ้างอิงซ้ำได้อีกครับ --taweethaも 03:18, 12 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ผมหมายถึงข้อความในบทนำมีการกล่าวถึงซ้ำอีกครั้งในเนื้อเรื่องและในส่วนเนื้อเรื่องที่กล่าวซ้ำนั้นมีการอ้างอิงไปแล้วครับ ส่วน ราชาของผลไม้ เดี๋ยวจัดให้ครับ --Chale yan 07:27, 10 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ครับ เอกสารอ้างอิงชิ้นหนึ่ง อ้างได้หลายแห่งในบทความ และ ราชาของผลไม้ อันนี้ก็ควรมีอ้างอิงครับ--taweethaも 22:18, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- จะให้อ้างอิงซ้ำหรือครับ --Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ส่วนย่อหน้าแรก (ย่อหน้า 0 ใน สจห.) ครับ ที่ว่าหอม/เหม็น ถูกไม่ถูกกับโรคอะไรเนี่ยครับ อาจจะมีอ้างอิงในส่วนของบทความด้านล่าง แต่ในย่อหน้าสรุปยังไม่มี--taweethaも 10:42, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ส่วนไหนครับ --Chale yan 06:28, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ย่อหน้าแรกเรื่องกำมะถัน เห็นกล่าวในส่วนโรคที่ไม่ควรทาน แต่ผมคิดว่าโยงไปถึงกลิ่นด้วยเลยก็ได้ครับ เพราะไหนๆ ก็พูดถึงกลิ่นแล้ว พูดถึงกำมะถันแล้ว ไม่รีบโยงหากันเดี๋ยวคนอ่านจะลืม --taweethaも 10:50, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- เพิ่มแล้วครับ--Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- วิกิลิงก์บางส่วนยังไม่ค่อยครบถ้วนครับ เช่นในส่วน ลักษณะทางพฤษศาสตร์ ไม่มีวิกิลิงก์เลย พวกเรื่องดอก ใบ กลีบเลี้ยง ก็สำคัญพอจะลิงก์ได้ครับ
- เรียบร้อยครับ --Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ตอนกิ่ง แน่ใจเหรอครับ ผมอยากให้เช็คแหล่งข้อมูลอื่นๆ ประกอบ เพราะเท่าที่เคยปลูกไม้ใหญ่พวกนี้มา วิธีการขยายพันธ์ุที่ไม่มีรากแก้วจะไม่ค่อยนิยมครับ เพราะมันจะไม่ต้านลม --taweethaも 10:50, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- แน่ใจครับ เพียงแต่ไม่นิยมเท่านั้นเองครับ --Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ไม่นิยมแล้วทำไมใส่เป็นอันดับแรกหล่ะครับ มันติดตาติดใจคนอ่านก่อน อย่างน้อยย้ายไปท้ายสุดหรือนำออกก็ไม่น่าเสียหายนะครับ แล้วแต่ว่า ไม่นิยม นี่ ไม่นิยมแค่ไหน --taweethaも 22:15, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ยกตัวอย่างมะม่วงแล้วกัน ในสมัยก่อนสัก 60 ปีที่แล้วจะนิยมเพาะเมล็ด เมื่อสามารถตอนกิ่งได้ก็นิยมปลูกด้วยการตอนกิ่งซึ่งสังเกตว่าต้นจะไม่สูงมากก็ให้ผลแล้ว ส่วนปัจจุบันนิยมเสียบตอครับ ส่วนการขยายพันธุ์ของทุเรียนที่ผมใส่ไปนั้นเพียงแค่บอกถึงความสามารถในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีนั้นๆว่าสามารถทำได้ครับ แต่เดี๋ยวจะเรียงให้ใหม่ --Chale yan 07:27, 10 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ใช่ครับผมนึกถึงมะม่วง เพราะว่าแม้จะตอนได้ แต่ก็ไม่นิยม จะติดตา ทาบกิ่ง เสียบตอ หรืออะไรก็ตามที่นิยมในปัจจุบัน ก็จะมีรากแก้วทั้งสิ้นเลย เพราะด้านล่างมาจากเมล็ด ก็จะต้านลมดี ทุเรียนเป็นไม้ใหญ่มาก ใหญ่กว่ามะม่วงหลายเท่า ไม่มีรากแก้วชาวสวนเดือดร้อนแน่ครับ --taweethaも 10:21, 10 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- เห็นการเรียงใหม่แล้วครับ --taweethaも 20:18, 16 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ใช่ครับผมนึกถึงมะม่วง เพราะว่าแม้จะตอนได้ แต่ก็ไม่นิยม จะติดตา ทาบกิ่ง เสียบตอ หรืออะไรก็ตามที่นิยมในปัจจุบัน ก็จะมีรากแก้วทั้งสิ้นเลย เพราะด้านล่างมาจากเมล็ด ก็จะต้านลมดี ทุเรียนเป็นไม้ใหญ่มาก ใหญ่กว่ามะม่วงหลายเท่า ไม่มีรากแก้วชาวสวนเดือดร้อนแน่ครับ --taweethaも 10:21, 10 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ยกตัวอย่างมะม่วงแล้วกัน ในสมัยก่อนสัก 60 ปีที่แล้วจะนิยมเพาะเมล็ด เมื่อสามารถตอนกิ่งได้ก็นิยมปลูกด้วยการตอนกิ่งซึ่งสังเกตว่าต้นจะไม่สูงมากก็ให้ผลแล้ว ส่วนปัจจุบันนิยมเสียบตอครับ ส่วนการขยายพันธุ์ของทุเรียนที่ผมใส่ไปนั้นเพียงแค่บอกถึงความสามารถในการขยายพันธุ์ด้วยวิธีนั้นๆว่าสามารถทำได้ครับ แต่เดี๋ยวจะเรียงให้ใหม่ --Chale yan 07:27, 10 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ไม่นิยมแล้วทำไมใส่เป็นอันดับแรกหล่ะครับ มันติดตาติดใจคนอ่านก่อน อย่างน้อยย้ายไปท้ายสุดหรือนำออกก็ไม่น่าเสียหายนะครับ แล้วแต่ว่า ไม่นิยม นี่ ไม่นิยมแค่ไหน --taweethaも 22:15, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- แน่ใจครับ เพียงแต่ไม่นิยมเท่านั้นเองครับ --Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ศัพทมูลวิทยา (etymology) คำนี้ก็เข้าใจและไม่ได้ผิดครับ แต่ถ้าจะให้มีทิศทางเดียวกับบทความอื่นๆ ลองเช็คดูหน่อยครับว่าบทความอื่นใช้คำไทยว่าอะไร จะได้เหมือนๆ กัน --taweethaも 10:50, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ในบทความอื่นๆผมใช้นิรุกติศาสตร์แต่คุณธวัชชัยเปลี่ยนมาใช้ศัพทมูลวิทยาเพราะเข้าใจง่ายกว่า ผมก็เลยใช้คำนี้เรื่อยมา--Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- คำว่า นิรุกติศาสตร์ น่าจะมาจากคำว่า philology (การเรียนรู้ถึงภูมิหลัง ประวัติและพัฒนาการของภาษา) ส่วน ศัพทมูลวิทยา น่าจะมาจากคำว่า etymology (ที่มาและความหมายของคำ) คิดว่าศัพทมูลวิทยา น่าจะตรงกว่า (จากบทความ นิรุกติศาสตร์ มีความหมายว่า ที่มาของภาษา มักใช้ในการศึกษาภาษา ส่วนศัพทมูลวิทยา เป็นการศึกษาที่มาของคำศัพท์ )--Sry85 21:44, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- จำไม่ได้ว่าบทความไหนนะครับ เขาเขียนแค่ว่าที่มาของชื่อ หรือใช้คำอะไรง่ายๆ ทำนองนี้ครับ ถ้าชื่อบาลีมากไปจะทำให้คนอ่านตกใจ ไม่ยอมอ่านต่อ แต่เมื่อมีการชี้แจงมาอย่างนี้ ผมคิดว่าเรื่องนี้ควรนำไปอภิปรายที่อื่นมากกว่า ให้ทั้งวิกิพีเดียใช้แนวทางเดียวกันจะเหมาะสมกว่า เอาเป็นว่าข้อนี้ไม่ติดใจสำหรับบทความนี้ครับ --taweethaも 22:22, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- คำว่า นิรุกติศาสตร์ น่าจะมาจากคำว่า philology (การเรียนรู้ถึงภูมิหลัง ประวัติและพัฒนาการของภาษา) ส่วน ศัพทมูลวิทยา น่าจะมาจากคำว่า etymology (ที่มาและความหมายของคำ) คิดว่าศัพทมูลวิทยา น่าจะตรงกว่า (จากบทความ นิรุกติศาสตร์ มีความหมายว่า ที่มาของภาษา มักใช้ในการศึกษาภาษา ส่วนศัพทมูลวิทยา เป็นการศึกษาที่มาของคำศัพท์ )--Sry85 21:44, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- ในบทความอื่นๆผมใช้นิรุกติศาสตร์แต่คุณธวัชชัยเปลี่ยนมาใช้ศัพทมูลวิทยาเพราะเข้าใจง่ายกว่า ผมก็เลยใช้คำนี้เรื่อยมา--Chale yan 21:25, 9 กรกฎาคม 2552 (ICT)
- (ข้อนี้เขียนหลังจากสนับสนุนให้เป็นบทความคุณภาพแล้ว) น่าจะเพิ่ม taweethaも 20:23, 16 กรกฎาคม 2552 (ICT) อย่างในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษที่เป็นบทความคัดสรรครับ นอกจากนั้นอะไรที่เขามีผมก็คิดว่าเราได้แปลมาหมดแล้ว เหลือประเด็นอีกเล็กน้อยคือแหล่งอ้างอิงภาษาไทย ถ้ามีพอสมควรแล้ว เสนอเป็นบทความคัดสรร และบทความคัดสรรประจำเดือนต่อไปได้เลยครับ --