ข้ามไปเนื้อหา

วิกิพีเดีย:ปุจฉา-วิสัชนา/กรุ/สังคมศาสตร์และประวัติศาสตร์/เมษายน 2551

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


ขนาดของประเทศไทยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่เท่าไรของเอเชียตะวันออกเฉียงใค้ --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 202.91.18.194 (พูดคุย | ตรวจ) 11:57, 2 เมษายน 2551 (ICT)

ไม่แน่ใจว่าอันดับที่เท่าไร แต่อยู่อันดับต้น ๆ ซึ่งประเทศพม่ามีขนาดใหญ่กว่า --Petje Bellพูดคุย 11:54, 14 เมษายน 2551 (ICT)


ไปดูที่ รายชื่อประเทศเรียงตามเนื้อที่ --ปังคุง 12:54, 15 เมษายน 2551 (ICT)

ตุลาการ

ตุลาการได้มาจากใหน ใครเป็นคนหา มีวาระดำรงต่ำแหน่งกี่ปี ตุลาการมีหน้าที่อะไร --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 125.24.218.3 (พูดคุย | ตรวจ) 04:26, 7 เมษายน 2551 (ICT)

ท้าวศรีจุฬาลักษ์(นพมาศ)

อยากรู้ว่านางนพมาศมีตัวตนจริงหรือไม่เเละขอประวัติด้วย แพรวา

ประกาศสงกรานต์

ขอโทษนะคะจากประกาศสงกรานต์

ตรงที่วันอังคารที่ว่าเป็นวันอธิบดี  และวันอังอังคารเป็นวันอุบาทว์  คะ  เอาตามนี้ไหมคะ            

วันที่ ๑๕ เมษายน เวลา ๒๒ นาฬิกา ๕๓ นาที ๒๔ วินาที เปลี่ยนจุลศักราชใหม่ เป็น ๑๓๗๐ ปีนี้ วันพุธเป็นธงชัย วันอังคารเป็นอธิบดี วันอังคารเป็นอุบาทว์

พระมหากษัตริย์ของกรุงศรีอยุธยา

พระมหากษัตริย์องค์ที่ 4 ของกรุงศรีอยุธยาคือพระองค์ใด --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 124.120.248.253 (พูดคุย | ตรวจ) 04:36, 9 เมษายน 2551 (ICT)

คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 หรือ ขุนหลวงพะงั่ว ครับ --Petje Bellพูดคุย 11:22, 14 เมษายน 2551 (ICT)

รายชื่อพรรคการเมือง

รายชื่อองคมนตรียุคปัจจุบันมีใครบ้างแต่ละกระทรวง --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 124.120.248.253 (พูดคุย | ตรวจ) 05:09, 9 เมษายน 2551 (ICT)

ไปดูที่ สภาองคมนตรีไทย --ปังคุง 12:50, 15 เมษายน 2551 (ICT)

ทำไม to hell

เห็นในแบงก์กงเต็ก ที่เผาไปให้ญาติที่ตายแล้ว เขียนว่า banknote to hell ทำไมถึงไม่เป็น heaven เหมือนคนที่ตายไปอยู่ในนรกตลอด จาก jrk_funkthon@yahoo.com --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 125.25.130.160 (พูดคุย | ตรวจ) 01:12, 12 เมษายน 2551 (ICT)

ความหมายของคำ

ต้องการทราบความหมายหรือคำจำกัดความของคำว่า"หอศิลป์ " เพื่อประกอบการทำวิจัย ปอ --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 125.25.71.51 (พูดคุย | ตรวจ) 01:19, 14 เมษายน 2551 (ICT)

ความหมายของคำ

ต้องการทราบ ความหมาย หรือคำจำกัดความคำว่าหอศิลป์ "ตอบด้วยต้องการด่วนจะส่งพรุ่งนี้" --125.25.71.51 08:24, 14 เมษายน 2551 (ICT)ปอ 8.18 น.

ภาพ:Sipo.jpg และราชอาณาจักรพม่า

ถ้าเจอภาพที่เขียนว่า "พระเจ้าสีป่อกับราชินีสุปยาลัต จากหนังสือ เที่ยวเมืองพม่า ในสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ" อย่าลืมอัปโหลดภาพด้วย หาภาพได้ที่นี่ [1]--จอมยุทธพเนจร|พูดกับจอมยุทธพเนจร

อยากทราบพระราชประวัติของท่าน ((จิกมี แคซาร์ นัมเกล วังชุก))

อยากทราบพระราชประวัติของท่านและแหล่งข้อมูลหรือเว็บอื่นๆที่พอจะติดต่อสอบถามที่เป็นเว็บของท่านโดยเฉพาะ--124.120.204.114 17:15, 16 เมษายน 2551 (ICT)


ไปอ่านที่ สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก --ปังคุง 18:54, 16 เมษายน 2551 (ICT)

คำถามเกี่ยวกับบริษัทข้ามชาติประเทศเปรู

อยากทราบว่าประเทศเปรูมีบริษัทข้ามชาติหรือไม่ถ้ามช่วยอธบยด้วย --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 222.123.203.183 (พูดคุย | ตรวจ) 09:12, 20 เมษายน 2551 (ICT)

ข้อดีและข้อเสียของระบอบประชาธิปไตย --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 125.26.120.75 (พูดคุย | ตรวจ) 04:30, 21 เมษายน 2551 (ICT)

มหาดเล็ก

ผมอยากทราบว่าทหารมหาดเล็กของ รัชกาลที่ 5 มีชือและนามสกุลอะไรบ้างครับ. --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 125.25.168.154 (พูดคุย | ตรวจ) 11:22, 26 เมษายน 2551 (ICT)

ทำไมเมืองโบราณมักจมอยู่ใต้ดิน

มีใครที่รู้เรื่องนี้บ้างหรือเคยสงสัยบ้างไหมว่า เมืองโบราณเมื่อมีการค้นพบแล้วมักจะต้องถูก "ขุดพบ" นั่นหมายถึงมันมักจะจมลงไปอยู่ใต้พื้นดิน อยู่ใต้แหล่งที่อยู่อาศัยของมนุษย์ยุคปัจจุบัน(ของยุคที่มีการค้นพบ) เสมอ มันเป็นเพราะอะไร น้อยมากที่จะมีเมืองโบราณที่ตั้งตระหง่านอยู่ เหมือนที่อยุธยา หรือที่อียิปต์ ใครมีคำอธิบายก็ช่วยไขข้อข้องใจนี้ด้วยนะครับจักขอบคุณมากๆ ithetom@gmail.com --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ Ithetom (พูดคุยหน้าที่เขียน) 17:38, 30 เมษายน 2551 (ICT)

  • ตีโจทย์ผิดแล้วครับ ไม่ใช่ว่า"เมืองโบราณ"มัก"ถูกพบอยู่ใต้ดิน" เมืองที่โบราณและอยู่บนดินก็มี อย่างมาชูพิคชู หรือใต้น้ำก็มี ในทะเลแถวๆโอกินาว่า บางที่ก็อยู่กันมาตลอด เกียวโต ปักกิ่ง ลอนดอน โรม (ถ้าอยุธยานับว่าโบราณได้ พวกนี้ก็โบราณเหมือนกัน) แต่เราไม่รู้สึกว่ามันโบราณเพราะมีการสร้างเพิ่มเรื่อยๆ

โจทย์จริงๆที่คุณควรสงสัยก็คือทำไม"เมืองที่ถูกพบอยู่ใต้ดิน"มักจะ"โบราณ"มากกว่า ทำไมไม่มีใครพบเมโทรโพลิส นครจักรกลที่เพิ่งสร้างเมื่องานอยู่ใต้ดินบ้าง :p Kuruni 13:42, 16 พฤษภาคม 2551 (ICT)

  • มันไม่ได้อยู่ใต้ดิน.. แต่ เพราะเป็นเมืองในที่ลุ่ม จึงมีดิน(และตะกอนจากน้ำพัดพา)มันมากลบต่างหาก... หลักการเดียวกับฟอสซิล แต่ใช้เวลาน้อยกว่า อนึ่ง.. ถ้าเป็นเมืองในที่ดอนเช่นอยุธยา หรือ ปราสาทเขาพระวิหาร พวกนี้สูงกว่าระดับ flood ก็เลยไม่โดนตะกอนท่วม --Lv.99 Aquarymus ripphorroudephyna otherphynecus TW. ไฟล์:WikiBotany tap.png 18:00, 1 กรกฎาคม 2551 (ICT)
  • ยกตัวอย่างอีกเช่นกันค่ะ ทีเคยมีข่าวเมื่อเมื่อซักประมาณ 4 - 5 ปีที่แล้ว ที่ได้มีการขุดค้นพบพระราชวังจันทน์ (สถานที่ประสูติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) ก็ถูกขุดพบภายในโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ในจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งอยู่ใต้พื้นดินไปเกือบสิบเมตร นั้นก็เพราะได้มีตะกอนน้ำพัดพามาจากแม่น้ำน่านนั้นเอง เพราะบริเวณนั้นอยู่ติดกับแม่น้ำน่าน (ตรงข้ามกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก ค่ะ) "เมืองโบราณที่จมอยู่ใต้ดิน" จึงขึ้นอยู่กับสถานที่ที่เมืองนั้นถูกสร้างค่ะ ถ้าเมืองในสูงกว่าระดับ Flood ก็จะไม่มีตะกอนดิน หรือน้ำมาท่วมแน่นอน siwattinun 12:10, 30 กรกฎาคม 2551