ข้ามไปเนื้อหา

วิกิพีเดียภาษาตาตาร์ไครเมีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วิกิพีเดียภาษาตาตาร์ไครเมีย
Logo of the Crimean Tatar Wikipedia
ภาพจับหน้าจอ
หน้าหลักของวิกิพีเดียภาษาตาตาร์ไครเมียในวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2015
หน้าหลักของวิกิพีเดียภาษาตาตาร์ไครเมีย
ประเภทสารานุกรมออนไลน์
ภาษาที่ใช้ได้ภาษาตาตาร์ไครเมีย
สำนักงานใหญ่ไมแอมี รัฐฟลอริดา
เจ้าของมูลนิธิวิกิมีเดีย
ยูอาร์แอลcrh.wikipedia.org
เชิงพาณิชย์ไม่
ลงทะเบียนไม่จำเป็น (แต่จำเป็นเพื่อสร้างบทความ)
ผู้ใช้32,300

วิกิพีเดียภาษาตาตาร์ไครเมีย (ตาตาร์ไครเมีย: Qırımtatarca Vikipediya) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาตาตาร์ไครเมีย เดิมบทความหลักในภาษานี้เขียนบนวิกิมีเดียอินคูเบเตอร์ และวิกิพีเดียภาษาตาตาร์ไครเมียสร้างขึ้นในวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 2008[1][2]

สถิติ

[แก้]
ตาตาร์ไครเมีย (อัปเดต)
บทความ 28,445
ไฟล์ 0
การแก้ไข 231,900
ผู้ใช้ 32,300
ผู้ใช้ที่มีความเคลื่อนไหว[3] 36
ผู้ดูแลระบบ 2

ณ เดือนธันวาคม 2024 วิกิพีเดียภาษาตาตาร์ไครเมียมีบทความถึง 28,445 บทความ[4][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้][5]

ปัญหาหลักของโครงการนี้คือการที่ไม่มีอาสาสมัคร การแก้ไขส่วนใหญ่มาจากอาสาสมัครบางส่วนที่ไม่ได้พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่[6]

ขอบเขต

[แก้]
  • 12 มกราคม ค.ศ. 2008 — บทความแรก
  • 21 มกราคม ค.ศ. 2008 — 557 บทความ
  • 20 ตุลาคม ค.ศ. 2009 — 1,000 บทความ[7]
  • 30 มกราคม ค.ศ. 2010 — 1,405 บทความ
  • 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 — 4,035 บทความ
  • มิถุนายน ค.ศ. 2021 — 10,000 บทความ

โลโก้

[แก้]
2549–2553 2553–

อ้างอิง

[แก้]
  1. Кримськотатарська Вікіпедія відзначає восьму річницю (ในภาษายูเครน)
  2. Annitova, İnna (29 July 2015). "Levon Azizãn: Qırımtatar Vikipediyası Qırımnıñ tamır halqına öz tilini saqlamağa yardım etecek" (ภาษาตุรกีไครเมีย). Avdet. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 March 2016. สืบค้นเมื่อ 9 May 2016.
  3. ผู้ใช้ลงทะเบียนที่มีความเคลื่อนไหวในช่วง 30 วัน ไม่รวมผู้ใช้ที่มีความเคลื่อนไหวแต่ไม่ลงทะเบียน
  4. List of Wikipedias
  5. Page Views for Wikipedia, All Platforms, Normalized
  6. Аннитова, Инна (28 July 2015). Левон Азизян: Крымскотатарская Википедия призвана помочь коренному народу Крыма сохранить свой язык (ภาษารัสเซีย). Radio Free Europe/Radio Liberty. สืบค้นเมื่อ 9 May 2016.
  7. Wikimedia News

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]