ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงอินเตอร์เนชันแนลวีทีวีคัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงอินเตอร์เนชันแนลวีทีวีคัพ
ก่อตั้ง2004
ประเทศเวียดนาม
สมาพันธ์เอวีซี
ระดับในพีระมิด1
ทีมชนะเลิศปัจจุบันประเทศญี่ปุ่น เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ (1 สมัย)
ชนะเลิศมากที่สุด เวียดนาม (5 สมัย)

วอลเลย์บอลหญิงอินเตอร์เนชันแนลวีทีวีคัพ (เวียดนาม: Giải bóng chuyền nữ quốc tế VTV Cup) หรือเรียกสั้นๆว่า วีทีวีคัพ (VTV Cup) เป็นการแข่งวอลเลย์บอลหญิงกระซับมิตร จัดขึ้นโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเวียดนาม และได้รับการสนับสนุนโดยโทรทัศน์เวียดนาม การแข่งขันก่อตั้งขึ้นในปี 2004[1]

สรุปการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2004 นามดิ่ญ ประเทศจีน
หนานจิง
3–0 ประเทศคาซัคสถาน
เชทิสซู
ประเทศจีน
หงเหอ
3–1 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
2005 นามดิ่ญ ประเทศญี่ปุ่น
เด็นโซ่แอรีบีส์
3–1 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
ประเทศจีน
หงเหอ
3–2 ประเทศคาซัคสถาน
เชทิสซู
2006 นิญเอียน ประเทศจีน
เสฉวน
3–2 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
ประเทศจีน
นันไค
3–0 ประเทศไทย
ไทย
2007 นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–1 สหรัฐอเมริกา
เซนต์จอห์น
ประเทศคาซัคสถาน
เชทิสซู
3–2 ประเทศญี่ปุ่น
ชิโกะกุ
2008 เกิ่นเทอ ประเทศเกาหลีเหนือ
เกาหลีเหนือ
3–1 ประเทศคาซัคสถาน
คาซัคสถาน
ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–0 ประเทศออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
2009 บวนมาถ็วต ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–0 ประเทศยูเครน
เทคโนคอม
ประเทศจีน
กวางตุ้ง
3–1 ประเทศไทย
ภูเก็ต
2010 บวนมาถ็วต ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–2 ประเทศยูเครน
วีนกรุ๊ป
ประเทศไทย
ไทย
3–1 ประเทศเวียดนาม
วีทีวีบิ่ญเดี่ยนล็องอัน
2011 บวนมาถ็วต ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
3–0 ประเทศจีน
ปักกิ่ง
ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–0 ประเทศเกาหลีเหนือ
เกาหลีเหนือ
2012 บิ่ญเอียน ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
3–0 ประเทศเกาหลีเหนือ
เกาหลีเหนือ
ประเทศเกาหลีใต้
ไอบีเค
3–2 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
2013 นิญบิ่ญ ประเทศจีน
เจียงซู
3–1 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
ประเทศจีน
ซานตง
3–0 ประเทศคาซัคสถาน
คาซัคสถาน
2014 บั๊กนิญ ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–1 ประเทศไทย
ไทย
ประเทศเกาหลีเหนือ
เกาหลีเหนือ
3–0 ประเทศคาซัคสถาน
คาซัคสถาน
2015 บักเลียว ประเทศไทย
ไทย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
3–1 ประเทศจีน
เหลียวหนิง วีซี
ประเทศเกาหลีเหนือ
เอพริล 25 สปอร์ต คลับ
3–1 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
2016 ห่านาม ประเทศไทย
สุพรีม ชลบุรี อีเทค
3–0 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
3–0 ประเทศจีน
จีน รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
2017 หายเซือง ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
3–0 ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–0 ประเทศเกาหลีใต้
ซูว็อนฮุนได
2018 ห่าติ๋ญ ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
3–0 ประเทศเกาหลีเหนือ
เกาหลีเหนือ
ประเทศจีน
เสฉวน
3–2 ประเทศคาซัคสถาน
อัลไต
2019 กว๋างนาม ประเทศญี่ปุ่น
เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์
3–1 ประเทศเวียดนาม
เวียดนาม
ประเทศเกาหลีเหนือ
เกาหลีเหนือ
3–0 ประเทศจีน
ฝูเจี้ยน

ตารางเหรียญการแข่งขัน

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1  เวียดนาม 5 5 3 13
2  ญี่ปุ่น 5 0 0 5
3  จีน 3 2 6 11
4  ไทย 2 1 1 4
5  เกาหลีเหนือ 1 2 3 6
6  คาซัคสถาน 0 2 1 3
7  ยูเครน 0 2 0 2
8  อินโดนีเซีย 0 1 1 2
9  สหรัฐ 0 1 0 1
10  เกาหลีใต้ 0 0 1 1
รวม 16 16 16 48

ผู้เล่นทรงคุณค่า

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "VTV Cup 2004: Ấn tượng ở kỳ VTV Cup đầu tiên". VTV. 15 July 2019. สืบค้นเมื่อ 10 June 2022.