วรรณะทางสังคม
วรรณะทางสังคม, ระบบวรรณะ หรือ วรรณะ[3] (อังกฤษ: caste) เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมโบราณที่วิวัฒนการผ่านเวลาหลายศตวรรษและยังพบเห็นได้ในหลายส่วนของโลก[4] วรรณะใช้อธิบายกลุ่มคนซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ แต่งงานแต่ในพวกเดียวกัน สืบทอดอาชีพกันจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน และรักษาสถานะของพวกตนในลำดับชั้นทางสังคม[1][5][6][7] ซึ่งมีตัวอย่างสำคัญคือระบบวรรณะในอินเดียซึ่งได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดู[8] ตามนิยามของ Haviland วรรณะเป็นการจัดช่วงชั้นในสังคม ที่แต่ละกลุ่มวรรณะถูกกำหนดแต่กำเนิดและเปลี่ยนแปลงมิได้ตลอดชีวิต แต่ละวรรณะต้องแต่งงานกันเองและลูกหลานที่เกิดขึ้นก็เป็นสมาชิกของวรรณะโดยอัตโนมัติ[9]
อย่างไรก็ดี ระบบวรรณะมิได้จำเพาะแก่ศาสนาใดศาสนาหนึ่ง หรือประเทศใดประเทศหนึ่ง มีการแบ่งชั้นวรรณะปรากฏอยู่ในสังคมมุสลิม คริสเตียน ฮินดู และพุทธ[1][10][11][12][13] และปรากฏอยู่ในทั้งสังคมอินเดียและสังคมอื่น[1][13][14][15][16][17][18]
กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) เห็นว่าทั่วโลกมีคนราว 250 ล้านคนถูกเลือกปฏิบัติเพราะตกอยู่ในระบบวรรณะ[19]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 Gerald D. Berreman (1972). "Race, Caste, and Other Invidious Distinctions in Social Stratification" (PDF). University of California, Berkeley. doi:10.1177/030639687201300401. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-01-17. สืบค้นเมื่อ 2012-09-09.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "berreman" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ Macionis, Gerber, John, Linda (2010). Sociology 7th Canadian Ed. Toronto, Ontario: Pearson Canada Inc.. pp. 225.
- ↑ ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน สาขารัฐศาสตร์ ปรับปรุง ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔ สาขาประชากรศาสตร์ ปรับปรุง ๔ ก.พ. ๒๕๔๕ สาขาปรัชญา ปรับปรุง ๒ มี.ค. ๒๕๔๕
- ↑ Thomas Leonard (Editor) (2006). Encyclopedia of Developing World. Vol. 1. ISBN 1-57958-388-1.
{{cite book}}
:|author=
มีชื่อเรียกทั่วไป (help) - ↑ Robert Merton (1979). The Sociology of Science: Theoretical and Empirical Investigations. University Of Chicago Press. ISBN 978-0-226-52092-6.
- ↑ Auguste Comte (1858). The Positive Philosophy of Auguste Comte (translated by Martineau). Calvin Blanchard. pp. 584–615.
- ↑ David Heer (2005). Kingsley Davis: A biography and selections from his writings. Transactions Publishers. ISBN 0-7658-0267-8.
- ↑ Gerald Berreman (September 1960). American Journal of Sociology. 66 (2): 120-127. JSTOR 2773155.
{{cite journal}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ William A. Haviland (2010). Anthropology: The Human Challenge, 13th edition (see Chapter 22). Thomson Wadsworth. ISBN 978-0-495-81084-1)..
{{cite book}}
: ตรวจสอบค่า|isbn=
: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help) - ↑ Tom Knox (10 June 2010). "The untouchables of FRANCE: How swarthy Pyrenean race persecuted for centuries are still being abused today". London: Daily Mail.
- ↑ David Cahill (1994). "Colour by Numbers: Racial and Ethnic Categories in the Viceroyalty of Peru" (PDF). Journal of Latin American Studies. 26: 325–346. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-10-29. สืบค้นเมื่อ 2012-09-09.
- ↑ Barth, Fredrik (1962). "The System Of Social Stratification In Swat, North Pakistan". ใน E. R. Leach (บ.ก.). Aspects of Caste in South India, Ceylon, and North-West Pakistan. Cambridge University Press. p. 113. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-19. สืบค้นเมื่อ 12 June 2007.
- ↑ 13.0 13.1 Elijah Obinna (2012). "Contesting identity: the Osu caste system among Igbo of Nigeria". African Identities. 10 (1): 111–121. doi:10.1080/14725843.2011.614412.
- ↑ Ulric Neisser (1986). The School Achievement of Minority Children: New Perspectives. pp. 4–14. ISBN 978-0-89859-685-4.
- ↑ Mitnick, Joshua (5 January 2012). "From Back of the Bus, Israeli Women Fight Segregation". The Wall Street Journal.
- ↑ Shana Levin, Jim Sidanius (March, 1999). "Social Dominance and Social Identity in the United States and Israel: Ingroup Favoritism or Outgroup Derogation?". Political Psychology. 20 (1): 99–126. doi:10.1111/0162-895X.00138.
{{cite journal}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ Ryan M. Quist & Miriam G. Resendez (2002). "Social Dominance Threat: Examining Social Dominance Theory's Explanation of Prejudice as Legitimizing Myths". Basic and Applied Social Psychology. 24 (4): 287–293. doi:10.1207/S15324834BASP2404_4.
- ↑ Alfred Rosenberg, The Myth of the Twentieth Century, 1930; and Hans F.K. Günther, The racial elements of European History, 1927
- ↑ Discrimination เก็บถาวร 2013-12-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน,