ข้ามไปเนื้อหา

วงศ์ย่อยตะพาบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วงศ์ย่อยตะพาบ
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคครีเทเชียสตอนปลายถึงปัจจุบัน, 91–0Ma
ตะพาบไต้หวัน
Pelodiscus sinensis
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
Eukaryota
อาณาจักร: สัตว์
Animalia
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
Chordata
ชั้น: สัตว์เลื้อยคลาน
อันดับ: เต่า
อันดับย่อย: เต่า
Cryptodira
วงศ์: วงศ์ตะพาบ
วงศ์ย่อย: วงศ์ย่อยตะพาบ

Gray, 1825

วงศ์ย่อยตะพาบ (อังกฤษ: Soft-shelled turtle) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับเต่า ในวงศ์ใหญ่ Trionychidae หรือ ตะพาบ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trionychinae

ลักษณะโดยรวมของตะพาบในวงศ์ย่อยนี้ คือ กระดูกฮัยโปพลาสทรอนไม่เชื่อมรวมกับกระดองท้อง และกระดองท้องไม่มีแผ่นกระดูกบริเวณต้นขา มีขนาดตั้งแต่ความยาวกระดองประมาณ 20-25 เซนติเมตร ไปจนถึง 1.5 เมตร หรือเกือบ ๆ 2 เมตร น้ำหนักนับร้อยกิโลกรัม มีพฤติกรรมหากินและอาศัยอยู่ในบริเวณพื้นท้องน้ำ ว่ายน้ำเพื่อแสวงหาอาหาร เนื่องจากมีลำตัวแบนราบจึงว่ายน้ำได้ดี หรืออาจใช้วิธีการฝังตัวอยู่ใต้โคลนหรือทรายใต้พื้นน้ำเพื่อรอเหยื่อเข้ามาใกล้ บางครั้งอาจฝังตัวในแหล่งน้ำตื้นแล้วโผล่มาแค่ส่วนปลายหัวเพื่อหายใจรวมทั้งใช้ผิวหนังแลกเปลี่ยนแก๊สได้ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น แม่น้ำ, ทะเลสาบ, คลอง มีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบอาศัยอยู่ในลำธารบนภูเขาด้วย แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, แอฟริกากลางไปจนถึงแอฟริกาตะวันตก, ทางใต้ของเอเชียไปจนถึงญี่ปุ่น และเกาะนิวกินี

การจัดอันดับ

[แก้]

วงศ์ย่อยนี้แบ่งออกเป็น 11 สกุล ดังนี้:[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Rhodin, Anders G.J.; van Dijk, Peter Paul; Inverson, John B.; Shaffer, H. Bradley. "Turtles of the World 2010 Update: Annotated Checklist of Taxonomy, Synonymy, Distribution and Conservation Status" (PDF). pp. 000.89–000.138. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-12-15. สืบค้นเมื่อ 2010-12-15.
  2. 2.0 2.1 Vitek, Natasha S. "Giant soft-shelled turtles". palaeo-electronica.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2017-08-09.
  3. 3.0 3.1 Rumford, Jennifer. "Giant soft-shelled turtles: Figures". palaeo-electronica.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-26. สืบค้นเมื่อ 2017-08-09.
  4. "Axestemys - Wikispecies". species.wikimedia.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-08-09.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Trionychidae - Wikispecies". species.wikimedia.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-08-09.
  6. Head, J.; Raza, S.; Gingerich, P. (1999). "Drazinderetes tethyensis, a new large trionychid (reptilia: testudines) from the marine Eocene drazinda formation of the sulaiman range, Punjab (Pakistan)". Contributions from the museum of paleontology. 30: 199–214 – โดยทาง Researchgate.
  7. "Fossilworks: Gobiapalone". fossilworks.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-10. สืบค้นเมื่อ 17 December 2021.
  8. Vitek, N.S. & Danilov, I.G. (2013). "Soft-shelled turtles (Trionychidae) from the Bissekty Formation (Upper Cretaceous: Turonian) of Uzbekistan: Skull-based taxa and probable skull-shell associations" (PDF). Cretaceous Research. 43 (2013): 48–58. doi:10.1016/j.cretres.2012.10.003. hdl:2152/41079. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-08-31. สืบค้นเมื่อ 2022-05-10.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  9. "Fossilworks: Murgonemys". fossilworks.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-28. สืบค้นเมื่อ 17 December 2021.
  10. "Fossilworks: Oliveremys". fossilworks.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-10. สืบค้นเมื่อ 17 December 2021.
  11. "Fossilworks: Rafetoides". fossilworks.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-10. สืบค้นเมื่อ 17 December 2021.
  12. Georgalis, Georgios L.; Joyce, Walter G. (2017-04-01). "A Review of the Fossil Record of Old World Turtles of the Clade Pan-Trionychidae". Bulletin of the Peabody Museum of Natural History. 58 (1): 115–208. doi:10.3374/014.058.0106. ISSN 0079-032X. S2CID 89732695.
  13. หน้า 361, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]