ลมฟ้าอากาศสุดโต่ง
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ลมฟ้าอากาศสุดโต่ง (อังกฤษ: Extreme weather) หมายถึงปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีความสุดโต่งเทียบกับอุบัติภัยธรรมชาติที่มีบันทึกไว้โดยรวม โดยเฉพาะลมฟ้าอากาศที่มีความรุนแรงมาก หรือลมฟ้าอากาศที่ผิดไปจากปกติ[2]
การเกี่ยวข้องกับพายุหมุนเขตร้อน
[แก้]การเพิ่มของความหายนะชนิดรุนแรงระดับสูงมากนั้น มีผลสืบเนื่องมาจากการเพิ่มจำนวนเหตุการณ์รุนแรงที่ร่วมกับการเพิ่มของจำนวนประชากร ซึ่งการเพิ่มจำนวนประชากรมีผลให้เกิดความเสียหายมากกว่าพื้นที่ที่มีประชากรน้อย องค์การอุตุนิยมโลก[3] และสำนักปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (EPA)[4] ได้โยงการเพิ่มจำนวนอุบัติภัยธรรมชาติสุดโต่งว่าเกิดจากปรากฏการณ์โลกร้อน เช่นกับโฮโย (Hoyos et al. (2006) ที่เขียนไว้ว่าการเพิ่มจำนวนของเฮอร์ริเคนระดับ 4 และ 5 เชื่อมโยงโดยตรงกับการเพิ่มอุณหภูมิของโลก[5] เช่นเดียวกัน เคอร์รี เอมมานูเอล ก็ได้เขียนไว้ในวารสารเนเจอร์ว่าพลังของเฮอร์ริเคนที่ลดถอยลงมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิที่เกี่ยวข้องกับสภาวะโลกร้อนโดยตรง แบบจำลองเฮอร์ริเคนได้แสดงผลต้องตรงกันโดยพบว่า เฮอร์ริเคนที่จำลองภายใต้บรรยากาศที่ร้อนขึ้น และที่มีสภาพ CO2 สูงขึ้นกว่าปัจจุบันจะมีความรุนแรงมากกว่าปัจจุบัน โทมัส คนุตสัน และ โรเบิร์ต อี ทูเลยาแห่ง NOAA ระบุเมื่อ พ.ศ. 2547 ว่าการร้อนขึ้นที่เกิดจากแก๊สเรือนกระจกอาจเป็นตัวนำที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์พายุเฮอร์ริเคนระดับ 5 ที่สร้างความเสียหายระดับสูงบ่อยครั้งมากขึ้น[6] เวกชิ และ โสเดน (Vecchi and Soden) พบว่าแรงเฉือนลม (wind shear) ซึ่งเป็นตัวเพิ่มกำลังให้แก่พายุหมุนเขตร้อนเกิดการเปลี่ยนแปลงในแบบจำลองคาดการณ์สภาวะโลกร้อนด้วยเช่นกัน การคาดการณ์การเพิ่มของแรงเฉือนลมในแอตแลนติกเขตร้อนและแปซิฟิกตะวันออกมีความเชื่อมโยงโดยตรงกับการลดการ “เคลื่อนไหลวอล์คเกอร์” (Walker circulation) รวมทั้งการลดระดับของแรงเฉือนลมในแปซิฟิกตะวันตกและแปซิฟิกกลาง [1] การศึกษาดังกล่าวไม่ได้อ้างถึงผลกระทบสุทธิของเฮอร์ริเคนในแอตแลนติกและแปซิฟิกตะวันออกที่เกิดจากบรรยากาศที่ร้อนและมีความชื้นมาก รวมทั้งแบบจำลองที่คาดการณ์เพิ่มขึ้นของแรงเฉือนลมในแอตแลนติก[7]
ดูเพิ่ม
[แก้]- การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
- ผลกระทบของมุมแดดที่มีต่อภูมิอากาศ
- ปรากฏการณ์โลกร้อน
- รายชื่ออุบัติภัยรายชื่อเหตุการณ์รุนแรง
- รายชื่อทอนาโดและการ “ระบาด” ของทอนาโด
- พายุ
- อุณหภูมิสุดโต่งของสหรัฐฯ
- การเสียชีวิตที่เนื่องมาจากภูมิอากาศในสหรัฐฯ
- คลื่นเกเร (สมุทรศาสตร์)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Pascal Peduzzi (2004) "Is climate change increasing the frequency of hazardous events?" Environment Times UNEP/GRID-Arendal" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-12-08. สืบค้นเมื่อ 2008-09-29.
- ↑ Intergovernmental Panel on Climate Change. [http://www.grida.no/climate/ipcc_tar/wg1/088.htm 2.7 Has Climate Variability, or have Climate Extremes, Changed?] เก็บถาวร 2005-11-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved on 2007-04-13.
- ↑ Commondreams.org News Center. Extreme Weather Prompts Unprecedented Global Warming Alert. เก็บถาวร 2006-04-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved on 2007-04-13.
- ↑ U. S. Environmental Protection Agency. Global Warming. เก็บถาวร 2006-10-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved on 2007-04-13.
- ↑ Carlos D. Hoyos, Paula A. Agudelo, Peter J. Webster, Judith A. Curry. Deconvolution of the Factors Contributing to the Increase in Global Hurricane Intensity. Retrieved on 2007-04-13.
- ↑ Thomas R. Knutson, et al., Journal of Climate, Impact of CO2-Induced Warming on Simulated Hurricane Intensity and Precipitation: Sensitivity to the Choice of Climate Model and Convective Parameterization, 15 Sept. 2004. Retrieved March 4, 2007.
- ↑ Vecchi, Gabriel A. Brian J. Soden (2007-04-18). "Increased tropical Atlantic wind shear in model projections of global warming" (PDF). Geophysical Research Letters. 34 (L08702): 1–5. doi:10.1029/2006GL028905. สืบค้นเมื่อ 2007-04-21.
{{cite journal}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- The Heat is Online: Extreme Weather Events
- Weather[ลิงก์เสีย]
- BBC weather page
- NCDC weather events page เก็บถาวร 2008-09-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Marble Bar heatwave, 1923-1924เก็บถาวร 2009-03-17 ที่ Pandora Archive
- Severe Weather UK เก็บถาวร 2002-08-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Extreme Weather magazine เก็บถาวร 2008-08-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Scientists attribute extreme weather to man-made climate change. Researchers have for the first time attributed recent floods, droughts and heatwaves, to human-induced climate change. 10 July 2012 The Guardian
- Hansen J., Sato M., Ruedy R., Lacis A., and Oinas V. (2000). "Global warming in the twenty-first century: an alternative scenario". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 97 (18): 9875–80. Bibcode:2000PNAS...97.9875H. doi:10.1073/pnas.170278997. PMC 27611. PMID 10944197.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - Extremely Bad Weather: เก็บถาวร 2013-06-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Studies start linking climate change to current events November 17, 2012; Vol.182 #10 Science News
- Climate change goes to extremes: Some recent weird weather tied to warming เก็บถาวร 2013-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน December 13, 2012 Science News
- Study Indicates a Greater Threat of Extreme Weather April 26, 2012 The New York Times
- doi:10.1073/pnas.1205276109
This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand