ข้ามไปเนื้อหา

รายนามผู้เชิญธงชาติเข้าสู่สนามในพิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โอลิมปิกฤดูร้อน 2008
IOC · COC · SF&OCHK · BOCOG

รายนามนักกีฬาที่เชิญธงชาติเข้าสู่สนามในพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 เรียงตามลำดับที่เข้าสู่สนาม โดยกรีซเป็นประเทศแรก และประเทศจีนเจ้าภาพเป็นอันดับสุดท้ายตามธรรมเนียมโอลิมปิก ส่วนประเทศอื่นจะเรียงตามลำดับขีดในการเขียนอักษรจีนอย่างง่าย

ลำดับ ประเทศ ชื่อภาษาจีน พินอิน
อักษรโรมัน
ผู้เชิญธง ชนิดกีฬา
1  กรีซ (GRE) 希腊 Xīlà อิลเลียส อิลลาดีส[1] ยูโด
2  กินี (GUI) 几内亚 Jīnèiyà ฟาตมาตา โฟฟานาห์[2] กรีฑา (วิ่งข้ามรั้ว 100 เมตร)
3  กินี-บิสเซา (GBS) 几内亚比绍 Jīnèiyà Bǐshào ออกัสโต มิดานา[2] มวยปล้ำ
4  ตุรกี (TUR) 土耳其 Tǔěrqí เมห์เหม็ด โอซัล[2] มวยปล้ำ
5  เติร์กเมนิสถาน (TKM) 土库曼斯坦 Tǔkùmànsītǎn Guwanç Nurmuhammedow[3] ยูโด
6  เยเมน (YEM) 也门 Yěmén โมฮัมเหม็ด อัล ยาฟาอี[2] กรีฑา (วิ่ง 800 เมตร)
7  มัลดีฟส์ (MDV) 马尔代夫 Mǎěrdàifū อะมินาห์ รูยา ฮุสเซน[2] ว่ายน้ำ
8  มอลตา (MLT) 马耳他 Mǎěrtā มาร์คอน เบซซินา[4] ยูโด
9  มาดากัสการ์ (MAD) 马达加斯加 Mǎdájiāsījiā Soloniaina Razanadrakoto[2] มวยสากลสมัครเล่น
10  มาเลเซีย (MAS) 马来西亚 Mǎláixīyà อะซิซุล ฮาสนี อาวัง[5] จักรยาน (ประเภทลู่)
11  มาลี (MLI) 马里 Mǎlǐ ดาบา โมดิโบ เคอิตา[6] เทควันโด
12  มาลาวี (MAW) 马拉维 Mǎlāwéi ชาร์ตัน นีร์เรนดา[2] ว่ายน้ำ
13  มาซิโดเนียเหนือ (MKD) 前南斯拉夫马其顿共和国 Qián Nánsīlāfū Mǎqídùn Gònghéguó อะตานาส นิโคลอฟสกี[7] พายเรือแคนู/คายัก (สลาลม)
14  หมู่เกาะมาร์แชลล์ (MHL) 马绍尔群岛 Mǎshàoěr Qúndǎo เวย์ลอน มุลเลอร์[8] กรรมการ
15  หมู่เกาะเคย์แมน (CAY) 开曼群岛 Kāimàn Qúndǎo โรนัลด์ ฟอร์บส์[2] กรีฑา
16  ภูฏาน (BHU) 不丹 Bùdān ทาชิ เพลเจอร์[2] กีฬายิงธนู
17  เอกวาดอร์ (ECU) 厄瓜多尔 Èguōduōěr อเล็กซานดรา เอสโคบาร์[2] ยกน้ำหนัก
18  เอริเทรีย (ERI) 厄立特里亚 Èlìtélǐyà Simret Sultan Ghebremichael[2] กรีฑา (วิ่ง 5000 เมตร)
19  จาเมกา (JAM) 牙买加 Yámǎijiā เวโรนิกา แคมบ์เบล[2] กรีฑา (วิ่ง 200 เมตร)
20  เบลเยียม (BEL) 比利时 Bǐlìshí Sébastien Godefroid[9] เรือใบ
21  วานูวาตู (VAN) 瓦努阿图 Wǎnǔātú Priscila Tommy[10] เทเบิลเทนนิส
22  อิสราเอล (ISR) 以色列 Yǐsèliè มิคาเอล โคกานอฟ[11] พายเรือแคนู/คายัก (น้ำนิ่ง)
23  ญี่ปุ่น (JPN) 日本 Rìběn ไอ ฟูกุฮาระ[12] เทเบิลเทนนิส
24  จีนไทเป (TPE) 中华台北 Zhōnghuá Táiběi หลาย เซิ่งหรง[13] ซอฟท์บอล
25  แอฟริกากลาง (CAF) 中非 Zhōngfēi Mireille Derebona[2] กรีฑา (วิ่ง 800 เมตร)
26  ฮ่องกง (HKG) 中国香港 Zhōngguó Xiānggǎng หว่อง กัมโป[14] จักรยาน
27  แกมเบีย (GAM) 冈比亚 Gāngbǐyà Badou Jack[2] มวยสากลสมัครเล่น
28  เบนิน (BEN) 贝宁 Bèiníng Fabienne Feraez[2] กรีฑา (วิ่ง 200 เมตร)
29  มอริเชียส (MRI) 毛里求斯 Máolǐqiúsī สเตฟัน บัคแลนด์[2] กรีฑา
30  มอริเตเนีย (MTN) 毛里塔尼亚 Máolǐtǎníyà Souleyman Chebal Moctar[2] กรีฑา
31  เดนมาร์ก (DEN) 丹麦 Dānmài โยอาคิม โอลเซน[15] กรีฑา (ขว้างจักร)
32  ยูกันดา (UGA) 乌干达 Wūgāndá โรนัลด์ เซกูโร[2] มวยสากลสมัครเล่น
33  ยูเครน (UKR) 乌克兰 Wūkèlán ยานา คลอชโควา[16] ว่ายน้ำ
34  อุรุกวัย (URU) 乌拉圭 Wūlāguī Alejandro Foglia[17] เรือใบ (เลเซอร์)
35  อุซเบกิสถาน (UZB) 乌兹别克斯坦 Wūzībiékèsītǎn Dilshod Makhmudov[2] มวยสากลสมัครเล่น
36  บาร์เบโดส (BAR) 巴巴多斯 Bābāduōsī Bradely Ally[2] ว่ายน้ำ
37  ปาปัวนิวกีนี (PNG) 巴布亚新几内亚 Bābùyà Xīn Jǐnèiyà ไรอัน ปินี[2] ว่ายน้ำ
38  บราซิล (BRA) 巴西 Bāxī Robert Scheidt[18] เรือใบ (สตาร์)
39  ปารากวัย (PAR) 巴拉圭 Bālāguī Víctor Fatecha[19] กรีฑา (พุ่งแหลน)
40  บาห์เรน (BRN) 巴林 Bālín Rakia Al Gassra[20] กรีฑา (ระยะสั้น)
41  บาฮามาส (BAH) 巴哈马 Bāhāmǎ เดบบี เฟอร์กูสัน[2] กรีฑา (ระยะสั้น)
42  ปานามา (PAN) 巴拿马 Bānámǎ Yesika Jiménes[2] ฟันดาบ
43  ปากีสถาน (PAK) 巴基斯坦 Bājīsītǎn Zeeshan Ashraf [21] ฮอกกี้
44  ปาเลสไตน์ (PLE) 巴勒斯坦 Bālèsītǎn Nader Almassri[2] กรีฑา
45  คิวบา (CUB) 古巴 Gǔbā มิจาอิล โลเปซ[22] มวยปล้ำ (เกรโกโรมัน)
46  บูร์กินาฟาโซ (BUR) 布基纳法索 Bùjīnà Fǎsuǒ Aïssata Soulama[23] กรีฑา (วิ่งข้ามรั้ว 400 เมตร)
47  บุรุนดี (BDI) 布隆迪 Bùlóngdí Francine Niyonizigiye[23] กรีฑา
48  ติมอร์-เลสเต (TLS) 东帝汶 Dōngdìwèn Mariana Diaz Ximenez[2] กรีฑา
49  กาตาร์ (QAT) 卡塔尔 Kǎtǎěr นัสเซอร์ ซาเละห์ อัล อติยา[2] ยิงปืน
50  รวันดา (RWA) 卢旺达 Lúwàngdá Pamela Girmbabazi Rugabira[2] ว่ายน้ำ
51  ลักเซมเบิร์ก (LUX) 卢森堡 Lúsēnbǎo Raphaël Stacchiotti[2] ว่ายน้ำ
52  ชาด (CHA) 乍得 Zhàdé Albertine Hinkissia Ndikert[2] กรีฑา (วิ่ง 100 เมตร)
53  เบลารุส (BLR) 白俄罗斯 Báiéluósī อะเล็กซานเดอร์ โรมานคอฟ[2] ฟันดาบ
54  อินเดีย (IND) 印度 Yìndù Rajyavardhan Singh Rathore[24] ยิงปืน
55  อินโดนีเซีย (INA) 印度尼西亚 Yìndùníxīyà I Gusti Made Oka Sulaksana[25] เรือใบ (อาร์เอสเอ็กซ์)
56  ลิทัวเนีย (LTU) 立陶宛 Lìtáowǎn Šarūnas Jasikevičius[26] บาสเก็ตบอล
57  ไนเจอร์ (NIG) 尼日尔 Nírìěr Lamine Alhousseini[2] ว่ายน้ำ
58  ไนจีเรีย (NGR) 尼日利亚 Nírìlìyà Bose Kaffo[2] เทเบิลเทนนิส
59  นิการากัว (NCA) 尼加拉瓜 Níjiālāguā Alexis Argüello[27] มวยสากลสมัครเล่น
60  เนปาล (NEP) 尼泊尔 Níbóěr Deepak Bista[28] เทควันโด
61  กานา (GHA) 加纳 Jiānà วีดา อานิม[2] กรีฑา
62  แคนาดา (CAN) 加拿大 Jiānádà Adam van Koeverden[29] พายเรือแคนู/คายัก (น้ำนิ่ง)
63  กาบอง (GAB) 加蓬 Jiāpéng Mélanie Engoang[2] ยูโด
64  ซานมารีโน (SMR) 圣马力诺 Shèng Mǎlìnuò ดาเนียลลา เดล ดิน[2] ยิงปืน
65  เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (VIN) 圣文森特和格林纳丁斯 Shèng Wénsēntè hé Gélínnàdīngsī Kineke Alexander[2] กรีฑา
66  เซนต์ลูเชีย (LCA) 圣卢西亚 Shèng Lúxīyà Levern Spencer[2] กรีฑา
67  เซาตูแมอีปริงซีป (STP) 圣多美和普林西比 Shèng Duōměi hé Pǔlínxībǐ Celma Da Gara Soares Bonfim[2] กรีฑา
68  เซนต์คิตส์และเนวิส (SKN) 圣基茨和尼维斯 Shèng Jīcí hé Níwéisī Virgil Hodge[2] กรีฑา
69  กายอานา (GUY) 圭亚那 Guīyànà Niall Roberts[2] ว่ายน้ำ
70  จิบูตี (DJI) 吉布提 Jíbùtí Salah Houssein Ahmed[30] ผู้เข้าแข่งโอลิมปิก
71  คีร์กีซสถาน (KGZ) 吉尔吉斯斯坦 Jíěrjísīsītǎn Talant Dzhanagulov[2] ยูโด
72  ลาว (LAO) 老挝 Lǎowō Suksavanh Tonsacktheva[2] กรีฑา
73  อาร์มีเนีย (ARM) 亚美尼亚 Yàměiníyà Albert Azaryan[31] ยิมนาสติก
74  สเปน (ESP) 西班牙 Xībānyá David Cal Figueroa[32] พายเรือแคนู/คายัก (น้ำนิ่ง)
75  เบอร์มิวดา (BER) 百慕大 Bǎimùdà Jillian Terceira[2] ขี่ม้า
76  ลีชเทินชไตน์ (LIE) 列支敦士登 Lièzhīdūnshìdēng Marcel Tschopp[33] กรีฑา (มาราธอน)
77  สาธารณรัฐคองโก (CGO) 刚果(布) Gāngguǒ (Bù) Pamela Chardene Mouele Mboussi[2] กรีฑา
78  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (COD) 刚果(金) Gāngguǒ (Jīn) Franka Magali[2] กรีฑา
79  อิรัก (IRQ) 伊拉克 Yīlākè Hamzah Al-Hilfi[2] เรือพาย
80  อิหร่าน (IRI) 伊朗 Yīlǎng Homa Hosseini[34] เรือพาย
81  กัวเตมาลา (GUA) 危地马拉 Wēidìmǎlā Kevin Cordon Buezo[35] แบดมินตัน
82  ฮังการี (HUN) 匈牙利 Xiōngyálì Zoltán Kammerer[36] พายเรือแคนู/คายัก (น้ำนิ่ง)
83  สาธารณรัฐโดมินิกัน (DOM) 多米尼加共和国 Duōmǐníjiā Gònghéguó Félix Sánchez[37] กรีฑา (วิ่งข้ารั้ว 400 เมตร)
84  ดอมินีกา (DMA) 多米尼克 Duōmǐníkè Jerome Romain[2] กรีฑา
85  โตโก (TOG) 多哥 Duōgē Benjamin Boukpeti[2] พายเรือแคนู/คายัก
86  ไอซ์แลนด์ (ISL) 冰岛 Bīngdǎo Örn Arnarson[38] ว่ายน้ำ
87  กวม (GUM) 关岛 Guāndǎo Ricardo Blas Jr[2] ยูโด
88  แองกวิลลา (ANG) 安哥拉 Āngēlā Joao N'tyamba[2] กรีฑา
89  แอนทีกาและบาร์บิวดา (ANT) 安提瓜和巴布达 Āntíguā hé Bābùdá เจมส์ กรอยมอน[2] กรีฑา
90  อันดอร์รา (AND) 安道尔 Āndàoěr Montserrat Garcia Riberaygua[2] พายเรือแคนู/คายัก
91  ตองงา (TGA) 汤加 Tāngjiā Ana Po'uhila[2] กรีฑา
92  จอร์แดน (JOR) 约旦 Yuēdàn Zeina Shaban[39] เทเบิลเทนนิส
93  อิเควทอเรียลกินี (GEQ) 赤道几内亚 Chìdào Jīnèiyà Emilia Mikue Ondo[2] กรีฑา
94  ฟินแลนด์ (FIN) 芬兰 Fēnlán Juha Hirvi[40] ยิงปืน
95  โครเอเชีย (CRO) 克罗地亚 Kèluódìyà Ivano Balić[41] แฮนด์บอล
96  ซูดาน (SUD) 苏丹 Sūdān Abubaker Kaki[2] กรีฑา
97  ซูรินาม (SUR) 苏里南 Sūlǐnán Anthony Nesty[2] ว่ายน้ำ
98  ลิเบีย (LBA) 利比亚 Lìbǐyà Mohamed Ben Saleh[42] ยูโด
99  ไลบีเรีย (LBR) 利比里亚 Lìbǐlǐyà Jangy Addy[2] กรีฑา
100  เบลีซ (BIZ) 伯利兹 Bólìzī โจนาธาน วิลเลียมส์[2] กรีฑา
101  กาบูเวร์ดี (CPV) 佛得角 Fódéjiǎo Wânia Monteiro[2] ยิมนาสติก
102  หมู่เกาะคุก (COK) 库克群岛 Kùkè Qúndǎo แซม เพรา จูเนียร์[43] ยกน้ำหนัก
103  ซาอุดีอาระเบีย (KSA) 沙特 Shātè Mohammed Salman H. Al-Khuwaildi[2] กรีฑา
104  แอลจีเรีย (ALG) 阿尔及利亚 Āěrjílìyà ซาลิม อิเลส[2] ว่ายน้ำ
105  แอลเบเนีย (ALB) 阿尔巴尼亚 Āěrbāníyà Sahit Prizreni[44] มวยปล้ำ (ฟรีสไตล์)
106  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) 阿联酋 Āliánqiú มาอิตา บินห์ โมฮัมหมัด อัล มัคตุม[45] เทควันโด
107  อาร์เจนตินา (ARG) 阿根廷 Āgēntíng Emanuel Ginobili[46] บาสเก็ตบอล
108  โอมาน (OMA) 阿曼 Āmàn Allah Dad Al Balushi[2] ยิงปืน
109  อารูบา (ARU) 阿鲁巴 Ālǔbā Fiderd Vis[2] ยูโด
110  อัฟกานิสถาน (AFG) 阿富汗 Āfùhàn Nesar Ahmad Bahave[2] เทควันโด
111  อาเซอร์ไบจาน (AZE) 阿塞拜疆 Āsāibàijiāng Farid Mansurov[47] มวยปล้ำ
112  นามิเบีย (NAM) 纳米比亚 Nàmǐbǐyà แมนนี เฮยแมนส์[48] จักรยาน (เสือภูเขา)
113  แทนซาเนีย (TAN) 坦桑尼亚 Tǎnsāngníyà Fabian Naasi[2] กรีฑา
114  ลัตเวีย (LAT) 拉脱维亚 Lātuōwéiyà Vadims Vasiļevskis[49] กรีฑา (พุ่งแหลน)
115  สหราชอาณาจักร (GBR) 英国 Yīngguó มาร์ก ฟอสเตอร์[50] ว่ายน้ำ (ฟรีสไตล์ 50 เมตร)
116  หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน (IVB) 英属维尔京群岛 Yīngshǔ Wéiěrjīng Qúndǎo Tahesia Harrigan[2] กรีฑา
117  เคนยา (KEN) 肯尼亚 Kěnníyà เกรซ โมมันยี[51] กรีฑา
118  โรมาเนีย (ROU) 罗马尼亚 Luōmǎníyà วาเลเรีย เบเซ[52] แฮนด์บอล
119  ปาเลา (PLW) 帕劳 Pàláo Elgin Loren Elwais[2] มวยปล้ำ
120  ตูวาลู (TUV) 图瓦卢 Túwǎlú Logona Esau[2] ยกน้ำหนัก
121  เวเนซุเอลา (VEN) 委内瑞拉 Wēinèiruìlā María Soto[2] ซอฟท์บอล
122  หมู่เกาะโซโลมอน (SOL) 所罗门群岛 Suǒluōmén Qúndǎo เวนดี เฮล[53] ยกน้ำหนัก
123  ฝรั่งเศส (FRA) 法国 Fǎguó Tony Estanguet[54] พายเรือแคนู/คายัก (สลาลม)
124  โปแลนด์ (POL) 波兰 Bōlán มาเรกก์ ทวาโดวสกี[55] พายเรือแคนู/คายัก (น้ำนิ่ง)
125  ปวยร์โตรีโก (PUR) 波多黎各 Bōduō Lígè แมควิลเลียมส์ อาโรโย[56] มวยสากลสมัครเล่น
126  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (BIH) 波黑 Bōhēi Amel Mekić[57] ยูโด
127  บังกลาเทศ (BAN) 孟加拉国 Mèngjiālāguó รูเบล รานา[58] ว่ายน้ำ
128  โบลิเวีย (BOL) 玻利维亚 Bōlìwéiyà Menacho Cesar[2] ยิงปืน
129  นอร์เวย์ (NOR) 挪威 Nuówēi Ruth Kasirye[59] ยกน้ำหนัก
130  แอฟริกาใต้ (RSA) 南非共和国 Nánfēi Gònghéguó Natalie Du Toit[2] ว่ายน้ำ
131  กัมพูชา (CAM) 柬埔寨 Jiǎnpǔzhài Hem Bunting[2] กรีฑา
132  คาซัคสถาน (KAZ) 哈萨克斯坦 Hāsàkèsītǎn Bakhyt Akhmetov[2] ยกน้ำหนัก
133  คูเวต (KUW) 科威特 Kēwēitè อับดุลละห์ อัลราชิดิ[2] ยิงปืน
134  โกตดิวัวร์ (CIV) 科特迪瓦 Kētè Díwǎ Affoue Amandine Allou[2] กรีฑา
135  คอโมโรส (COM) 科摩罗 Kēmóluó Ahamada Feta[2] กรีฑา
136  บัลแกเรีย (BUL) 保加利亚 Bǎojiālìyà Petar Stoychev[60] ว่ายน้ำ (มาราธอน)
137  รัสเซีย (RUS) 俄罗斯 Éluōsī / Éluósī อังเดร คิริเลนโก[61] บาสเก็ตบอล
138  ซีเรีย (SYR) 叙利亚 Xùlìyà Ahed Jughili[2] ยกน้ำหนัก
139  สหรัฐ (USA) 美国 Měiguó โลเปซ โลมอง[62] กรีฑา (วิ่ง 1,500 เมตร)
140  หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (ISV) 美属维尔京群岛 Měishǔ Wéiěrjīng Qúndǎo Josh Laban[2] ว่ายน้ำ
141  อเมริกันซามัว (ASA) 美属萨摩亚 Měishǔ Sàmóyà Silulu Aetonu[2] ยูโด
142  ฮอนดูรัส (HON) 洪都拉斯 Hóngdūlāsī Miguel Ferrera[2] เทควันโด
143  ซิมบับเว (ZIM) 津巴布韦 Jīnbābùwéi Brian Dzingai[2] กรีฑา
144  ตูนิเซีย (TUN) 突尼斯 Tūnísī Anis Chadly[2] ยูโด
145  ไทย (THA) 泰国 Tàiguó วรพจน์ เพชรขุ้ม[23] มวยสากลสมัครเล่น (แบนตัมเวท)
146  อียิปต์ (EGY) 埃及 Aījí Karam Gaber[2] มวยปล้ำ (เกรโกโรมัน)
147  เอธิโอเปีย (ETH) 埃塞俄比亚 Aīsāiébǐyà Miruts Yefter[2] ผู้ฝึกสอน
148  เลโซโท (LES) 莱索托 Láisuǒtuō Tsotang Maine[2] กรีฑา
149  โมซัมบิก (MOZ) 莫桑比克 Mòsāngbǐkè Kurt Leonel Da Rocha Couto[2] กรีฑา
150  เนเธอร์แลนด์ (NED) 荷兰 Hélán Jeroen Delmee[2] ฮอกกี้
151  เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส (AHO) 荷属安的列斯 Héshǔ Āndelièsī Churandy Martina[2] กรีฑา
152  กรีเนดา (GRN) 格林纳达 Gélínnàdá Alleyne Francique[2] กรีฑา
153  จอร์เจีย (GEO) 格鲁吉亚 Gélǔjíyà Ramaz Nozadze[2] มวยปล้ำ
154  โซมาเลีย (SOM) 索马里 Suǒmǎlǐ Duran Farah[2] เรือพาย
155  โคลอมเบีย (COL) 哥伦比亚 Gēlúnbǐyà María Luisa Calle[63] จักรยาน (track)
156  คอสตาริกา (CRC) 哥斯达黎加 Gēsīdá Líjiā Allan Segura[2] กรีฑา
157  ตรินิแดดและโตเบโก (TRI) 特立尼达和多巴哥 Tèlìnídá hé Duōbāgē จอร์จ โบเวล[2] ว่ายน้ำ
158  เปรู (PER) 秘鲁 Bìlǔ Sixto Barrera[64] มวยปล้ำ (เกรโกโรมัน)
159  ไอร์แลนด์ (IRL) 爱尔兰 Aìěrlán Ciara Peelo[65] เรือใบ (เลเซอร์เรเดียล)
160  เอสโตเนีย (EST) 爱沙尼亚 Aìshāníyà Martin Padar[66] ยูโด
161  เฮติ (HAI) 海地 Hǎidì Joel Brutus[2] ยูโด
162  เช็กเกีย (CZE) 捷克 Jiékè Štěpánka Hilgertová[67] พายเรือแคนู/คายัก (สลาลม)
163  คิริบาส (KIR) 基里巴斯 Jīlǐbāsī David Katoatau[2] ยกน้ำหนัก
164  ฟิลิปปินส์ (PHI) 菲律宾 Fēilǜbīn แมนนี่ ปาเกียว[68][69] มวยสากลสมัครเล่น (ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน)
165  เอลซัลวาดอร์ (ESA) 萨尔瓦多 Sàěrwǎduō Eva Maria Dimas[2] ยกน้ำหนัก
166  ซามัว (SAM) 萨摩亚 Sàmóyà Ele Opeloge[2] ยกน้ำหนัก
167  ไมโครนีเชีย (FSM) 密克罗尼西亚 Mìkèluóníxīyà Manuel Minginfel[2] ยกน้ำหนัก
168  ทาจิกิสถาน (TJK) 塔吉克斯坦 Tǎjíkèsītǎn Dilshod Nazarov[2] กรีฑา (ขว้างค้อน)
169  เวียดนาม (VIE) 越南 Yuènán Nguyen Dinh Cuong[2] กรีฑา
170  บอตสวานา (BOT) 博茨瓦纳 Bócíwǎnà Samantha Paxinos[2] ว่ายน้ำ
171  ศรีลังกา (SRI) 斯里兰卡 Sīlǐ Lánkǎ ซูซานติกา จายาซิงห์[70] กรีฑา (ระยะสั้น)
172  เอสวาตีนี (SWZ) 斯威士兰 Sīwēishìlán Temalangeni Dlamini[2] กรีฑา
173  สโลวีเนีย (SLO) 斯洛文尼亚 Sīluòwénníyà Urška Žolnir[71] ยูโด
174  สโลวาเกีย (SVK) 斯洛伐克 Sīluòfákè Elena Kaliská[72] พายเรือแคนู/คายัก (สลาลม)
175  โปรตุเกส (POR) 葡萄牙 Pútáoyá Nelson Évora[73] กรีฑา
176  เกาหลีใต้ (KOR) 韩国 Hánguó จาง ซุงโฮ[74] ยูโด
177  ฟีจี (FIJ) 斐济 Fěijì Makelesi Bulikiobo[75] กรีฑา (ระยะสั้น)
178  แคเมอรูน (CMR) 喀麦隆 Kāmàilóng Frank Moussima[76] ยูโด
179  มอนเตเนโกร (MNE) 黑山 Hēishān Veljko Uskoković[77] โปโลน้ำ
180  เกาหลีเหนือ (PRK) 朝鲜民主主义人民共和国 Cháoxiǎn Mínzhŭ Zhŭyì Rénmín Gònghéguó ปัง มินอิล[2] กรรมการ
181  ชิลี (CHI) 智利 Zhìlì เฟอร์นานโด กอนซาเลส[78] เทนนิส
182  ออสเตรีย (AUT) 奥地利 Aòdìlì Hans-Peter Steinacher[79] เรือใบ (ทอร์นาโด)
183  พม่า (MYA) 缅甸 Miǎndiàn Phone Myint Tayzar[2] พายเรือแคนู/คายัก
184  สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 瑞士 Ruìshì โรเจอร์ เฟดเดอเรอร์[80] เทนนิส
185  สวีเดน (SWE) 瑞典 Ruìdiǎn คริสเตียน โอลสัน[81] กรีฑา
186  นาอูรู (NRU) 瑙鲁 Nǎolǔ Itte Detenamo[2] ยกน้ำหนัก
187  มองโกเลีย (MGL) 蒙古 Mēnggǔ Mahgal Bayarjavhlan[82] ยูโด
188  สิงคโปร์ (SIN) 新加坡 Xīnjiāpō หลี่ เจียเว่ย[83] เทเบิลเทนนิส
189  นิวซีแลนด์ (NZL) 新西兰 Xīn Xīlán Mahe Drysdale[2] เรือพาย
190  อิตาลี (ITA) 意大利 Yìdàlì อันโตนิโอ รอสซี[84] พายเรือแคนู/คายัก (น้ำนิ่ง)
191  เซเนกัล (SEN) 塞内加尔 Sāinèijiāěr Bineta Diedhiou[2] เทควันโด
192  เซอร์เบีย (SRB) 塞尔维亚 Sāiěrwéiyà Jasna Šekarić[85] ยิงปืน
193  เซเชลส์ (SEY) 塞舌尔 Sàishéěr Georgie Cupidon[2] แบดมินตัน
194  เซียร์ราลีโอน (SLE) 塞拉利昂 Sàilā Lìáng Solomon Bayoh[2] กรีฑา
195  ไซปรัส (CYP) 塞浦路斯 Sāipǔlùsī George Achilleos[2] ยิงปืน
196  เม็กซิโก (MEX) 墨西哥 Mòxīgē พอลลา เอสปิโนซา[86] กระโดดน้ำ
197  เลบานอน (LIB) 黎巴嫩 Líbānèn Ziad Richa[2] ยิงปืน
198  เยอรมนี (GER) 德国 Déguó Dirk Nowitzki[87] บาสเก็ตบอล
199  มอลโดวา (MDA) 摩尔多瓦 Móěrduōwǎ Nicolai Ceban[2] มวยปล้ำ (ฟรีสไตล์)
200  โมนาโก (MON) 摩纳哥 Mónàgē Mathias Raymond[2] เรือพาย
201  โมร็อกโก (MAR) 摩洛哥 Móluògē Abdelkader Kada[2] กรีฑา (ผู้ฝึกสอน)
202  ออสเตรเลีย (AUS) 澳大利亚 Aòdàlìyà James Tomkins[2] เรือพาย
203  แซมเบีย (ZAM) 赞比亚 Zànbǐyà Hastings Bwalya[2] มวยสากลสมัครเล่น
204  จีน (CHN) 中国 Zhōngguó เหยา หมิง[88] บาสเก็ตบอล

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งอ้างอิงหลัก: "List of flagbearers Bejing (sic) 2008" (PDF). olympic.org. 2008-08-08. สืบค้นเมื่อ 2008-08-08.

  1. "Greek Olympic Judo champion to carry flag at Beijing Olympics". en.beijing2008.cn. 2 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  2. 2.000 2.001 2.002 2.003 2.004 2.005 2.006 2.007 2.008 2.009 2.010 2.011 2.012 2.013 2.014 2.015 2.016 2.017 2.018 2.019 2.020 2.021 2.022 2.023 2.024 2.025 2.026 2.027 2.028 2.029 2.030 2.031 2.032 2.033 2.034 2.035 2.036 2.037 2.038 2.039 2.040 2.041 2.042 2.043 2.044 2.045 2.046 2.047 2.048 2.049 2.050 2.051 2.052 2.053 2.054 2.055 2.056 2.057 2.058 2.059 2.060 2.061 2.062 2.063 2.064 2.065 2.066 2.067 2.068 2.069 2.070 2.071 2.072 2.073 2.074 2.075 2.076 2.077 2.078 2.079 2.080 2.081 2.082 2.083 2.084 2.085 2.086 2.087 2.088 2.089 2.090 2.091 2.092 2.093 2.094 2.095 2.096 2.097 2.098 2.099 2.100 2.101 2.102 2.103 2.104 2.105 2.106 2.107 2.108 2.109 2.110 2.111 2.112 2.113 2.114 2.115 "List of Flagbearers Beijing 2008" (PDF). olympic.org. สืบค้นเมื่อ 6 September 2011.
  3. "To carry the flag of the Motherland". turkmenistan.gov.tm. 30 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  4. "MOC names athletes for Beijing Olympics". maltamedia.com. 24 June 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  5. "Cyclist Azizul will be Malaysia's flag bearer at Olympic Games". thestar.com.my. 16 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  6. "Daba Modibo Keita désigné porte-drapeau du Mali aux J0 de Pékin" (ภาษาฝรั่งเศส). jeuneafrique.com. 3 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  7. "Youth and Sports Agency provides financial assistance for Macedonian Olympic athletes". idividi.com.mk. 24 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  8. "Flagbearers named". sportingpulse.com. 29 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  9. "Sebastien Godefroid draagt Belgische vlag tijdens openingsceremonie". standaard.be. 6 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  10. "Priscila Tommy in Roger Federer's Footsteps?". ittf.com. 14 May 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  11. "Kolganov to carry Israel flag in Beijing". The Jerusalem Post. 9 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2012. สืบค้นเมื่อ 4 February 2011.
  12. "Ai Fukuhara will bear the Japanese flag". en.beijing2008.cn. 11 June 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  13. "漂亮宝贝"赖圣蓉出任中华台北队旗手 (ภาษาจีน). 中国新闻网. 6 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  14. "Wong Kampo picked as HK's flag bearer at opening ceremony". Xinhuanet. 4 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 5 August 2008.
  15. "Olsen will carry Olympic flag for Denmark". iaaf.org. 25 June 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  16. "Ukraine Announces Flag Bearer for Beijing". english.cri.cn. 17 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  17. "Sailor Alejandro Foglia to carry Uruguay flag at Beijing Olympics". en.beijing2008.cn. 17 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  18. "Brazil picks sailor Scheidt as flag bearer for Beijing Olympics". International Herald Tribune. 4 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2012. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  19. "Paraguay to Send Only Seven Athletes for Beijing Olympics". english.cri.cn. 24 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  20. "Bahrain gear up for Games". gulf-daily-news.com. 1 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  21. "Hockey team captain to lead Pak contingent in Olympics parade". nation.com.pk. 26 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  22. "Raul Castro Hands Over Flag to Cuban Delegation to Beijing". cubanews.ain.cu. 18 July 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  23. 23.0 23.1 23.2 "Flag-bearers for Beijing Olympic Games opening ceremony". Xinhua. 8 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  24. "ŠRathore to be India's flag bearer in Beijing". ndtv.com. 4 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  25. "Atlet Indonesia ke Beijing". koni.or.id. 4 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  26. "Š. Jasikevičius will carry the Lithuanian flag". lrt.lt. 17 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  27. "Alexis Argüello to bear Nicaraguan flag in Bejing (sic) Olympics". xinhuanet.com. 24 June 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  28. "Bista to Carry Nepal's Flag in Olympics". thehimalayantimes.com. 23 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 5 August 2008.
  29. "Van Koeverden named Canada's flag-bearer". CBC Olympics. Canadian Broadcasting Corporation. 23 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 August 2008. สืบค้นเมื่อ 23 July 2008.
  30. "Athletics provides most flag bearers at Beijing Olympics opening ceremony". chinaview.cn. 8 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 September 2008. สืบค้นเมื่อ 4 September 2009.
  31. "23–25 SPORTSMEN PRESENT ARMENIA IN OLYMPIC GAMES". armtown.com. 27 May 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  32. "David Cal Figueroa will be flag bearer for Spain". en.beijing2008.cn. 18 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  33. "Marcel Tschopp Fahnenträger". en.beijing2008.cn. 8 June 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  34. "Hosseini Will Carry Iran's Flag". iran-daily.com. 19 July 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  35. "Badminton Player to Be Flag Bearer of Guatemala". cri.cn. 16 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  36. "Kammerer zászlóvivőként nyerne Pekingben". 8 May 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  37. "Feliz Sanchez leads Dominican delegation to Olympics". 19 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  38. "Örn Arnarson – fánaberi í Peking". 8 July 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  39. "Jordan to have a female flag bearer for Beijing Olympics". xinhuanet.com. 2 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  40. "Six-time Olympian Juha Hirvi to carry Finnish flag at Beijing opening ceremonies". hs.fi. 6 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  41. "Handball Champion Balic to Bear Flag at Olympics". javno.com. 11 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  42. "Libya's Team Leaves for Beijing Olympics With Seven Athletes". Libyaonline.com. 27 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  43. "IWF – Olympic news on Weightlifting". asoif.com. 31 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  44. "Final preparations ahead of Beijing 2008". amc.al. 12 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  45. "Hydra to sponsor UAE at Games". gulf-news.com. 25 June 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-17. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  46. "Ginobili to carry Argentine flag during Games opening ceremony". en.beijing2008.cn. 2 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  47. "No one Responsible for Shortages in Azerbaijani Sportsmen's Qualification for Olympic Games: Minister". news.trendaz.com. 18 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-12. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  48. "Heymans Namibia's flag-bearer at Games". namibian.com.na. 1 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  49. "Latvijas karogu Pekinā nesīs Vasiļevskis" (ภาษาลัตเวีย). diena.lv. 6 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  50. "Foster to carry flag for Britain". bbc.co.uk. 6 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  51. "Momanyi leads team to a pompous Olympic Games opening ceremony". The Standard (Kenya). 9 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 August 2008. สืบค้นเมื่อ 9 August 2008.
  52. "Valeria Bese – Romanian Olympic delegation's flag-bearer in Beijing". Nineoclock.ro. 11 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  53. "Hale carries our flag". solomonstarnews.com. 24 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  54. "Tony Estanguet chosen to carry French flag at the Opening Ceremony in Beijing". en.beijing2008.cn. 9 May 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  55. "Marek Twardowski is chosen as the flag bearer for Poland". en.beijing2008.cn. 9 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  56. "Boxeador McWilliams Arroyo será abanderado de P.Rico en Pekín 2008". ocala.com. 4 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  57. "Nositi zastavu BiH na otvaranju Igara je čast i obaveza". 25 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  58. "Rubel carries national flag in Beijing as Sharmin loses eligibility". bdnews24.com. 5 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  59. "Uganda-born weightlifter to carry Norwegian flag at Olympics". monstersandcritics.com. 4 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  60. "Petar Stoychev is the Bulgarian Flag Bearer at the Olympics". ibox.bg. 5 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  61. Сборная России получила знаменосца на Олимпиаде-2008 (ภาษารัสเซีย). Lenta.ru. 25 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  62. "Lopez Lomong chosen as American flag bearer at Beijing Olympics". Los Angeles Times. 6 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 October 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  63. "Number of Colombian athletes to Beijing Olympics rises to 63". en.beijing2008.cn. 20 May 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  64. "Peru's finest athletes travel to Beijing to compete in 2008 Olympics". livinginperu.com. 31 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  65. "Ciara Peelo to carry flag for Ireland". Olympicsport.ie. 11 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  66. "Martin Padar to bear Estonia's flag at Olympic Games". baltic-course.com. 28 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  67. "Hilgertová to carry Czech flag at Olympics ceremony". praguemonitor.com. 4 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  68. "Beijing oks flag-bearer change of Philippine Olympic delegation". Xinhua News Agency. 10 July 2008.
  69. "Pacquiao to carry RP flag in Beijing Olympics". inquirer.net. 5 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  70. "SPRINTER SUSANTHIKA TO LEAD SRI LANKAN TEAM FOR THE OLYMPICS". namnewsnetwork.org. 19 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  71. "Zastavo bo nosila Urška Žolnir". siol.net. 3 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  72. "56 Slovak Athletes to Compete in Beijing Summer Olympic Games". tasr.sk. 19 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  73. "Nelson Évora porta-bandeira na Cerimónia de Abertura". Comité Olímpico de Portugal. 1 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  74. "Judo champion to lead S Korea at Beijing Olympics opening ceremony". xinhuanet.com. 25 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  75. "Bulikiobo Chosen As Flag Bearer for Olympics". fijivillage.com. 29 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  76. "Cameroon Olympic Team Receives National Blessing". postnewsline.com. 28 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  77. "Svečanost za olimpijce". CafedelMontenegro. 19 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 July 2011. สืบค้นเมื่อ 19 March 2009.
  78. "Chilenos eligieron a González como el abanderado para Beijing". emol.com. 30 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  79. "Smallest Olympic team since 1976". wienerzeitung.at. 21 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  80. "Roger Federer trägt die Schweizer Fahne". Swiss Olympic Association. 1 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  81. "Skadad Olsson svensk fanbärare". Sveriges Television. 8 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2011. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  82. "Judoka athlete to bear Mongolia flag at Beijing Olympics opening ceremony". xinhuanet.com. 22 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  83. "Li Jiawei named flag-bearer for Singapore's Olympic contingent in Beijing". Channelnewsasia.com. 10 July 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  84. "Rossi to carry Italian flag at Beijing Olympics". Chinadaily.com.cn. 25 June 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  85. "Jasna Šekarić is to bear Serbian flag in Beijing". Olympic Committee of Serbia. 10 July 2008. สืบค้นเมื่อ 19 February 2009.[ลิงก์เสีย]
  86. "Diver to be flag bearer for Mexico". en.beijing2008.cn. 24 June 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  87. "Dirk Nowitzki trägt deutsche Fahne". tagesspiegel.de. 6 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 August 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  88. "Yao Ming to carry flag for China". BBC News. 7 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2008. สืบค้นเมื่อ 7 August 2008.