รายชื่อไมโครโพรเซสเซอร์ของเอเอ็มดี
หน้าตา
บทความนี้กล่าวถึงรายชื่อของไมโครโปรเซสเซอร์จาก แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์ โดยเรียงตามรุ่นและปีที่วางจำหน่าย ถ้ามีการรู้จักอย่างทั่วถึงในชื่ออื่น ๆ ก็จะระบุไว้ในวงเล็บ
สถาปัตยกรรมดั้งเดิมของเอเอ็มดี
[แก้]- Am2901 4-ชิ้นบิต ALU (1975)
- Am2902 ใช้ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
- Am2903 4-ชิ้นบิต ALU, พร้อม การร้องรับหลายตัว
- Am2904 ตัวควบคุมสถานะและปุ่มชิฟ
- Am2905 รับ-ส่งสัญญาณ
- Am2906 รับ-ส่งสัญญาณคล้าย ๆ กัน
- Am2907 รับ-ส่งสัญญาณคล้าย ๆ กัน
- Am2908 รับ-ส่งสัญญาณคล้าย ๆ กัน
- Am2909 4-ชิ้นบิตซีเควน
- Am2910 12-ชิ้นบิตซีเควน
- Am2911 4-ชิ้นบิตซีเควน
- Am2912 รับ-ส่งสัญญาณ
- Am2913
- Am2914
29000 (29K) (1987–95)
[แก้]- AMD 29000 (aka 29K) (1987) +
- AMD 29027 FPU
- AMD 29030
- AMD 29050 พร้อมชิป FPU (1990)
- AMD 292xx เป็นโปรเซสเซอร์แบบฝังมาบนเมนบอร์ด
สถาปัตยกรรมที่ไม่ใช่ x86
[แก้]รุ่นที่ 2 ปี (1974)
[แก้]รุ่นที่ 2 ปี (1982)
[แก้]Am29X305 (รุ่นที่สองสำหรับ Signetics 8X305 หน่วยตัวควบคุมแบบ 8 บิท)
โปรเซสเซอร์ที่ใช้สถาปัตยกรรมแบบ x86
[แก้]รุ่นที่ 2 ระหว่างปี (1979–91)
[แก้](โปรเซสเซอร์ x86 รุ่นที่ 2 ภายใต้สัญญาที่ทำไว้กับอินเทล)
Am*ซี่รีย์ X86 ปี (1991–95)
[แก้]- Am386 (1991)
- Am486 (1993)
- Am5x86 (ซีพียูนี้มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเพนเทียมหรือรุ่นสูงกว่าที่ใช้เมนฃบอร์ดแบบ 486) จำหน่ายเมื่อปี (1995)
สถาปัตยกรรม K5 ปี (1995)
[แก้]- AMD K5 (SSA5/5k86)
สถาปัตยกรรม K6 ระหว่างปี (1997–2001)
[แก้]- AMD K6 (NX686/ลิตเติ้ลฟุต) ปี (1997)
- AMD K6-2 (โครมพ์เพอร์/CXT)
- AMD K6-2-P (โมบิล K6-2)
- AMD K6-III (ชาร์ปทูทส์)
- AMD K6-2 พลัส
- AMD K6-III พลัส
สถาปัตยกรรม K7 ระหว่างปี (1999–2005)
[แก้]- แอททอล์น (สล๊อต A) (อาร์กอน, พูลโต/โอเรียน, ทันเดอร์เบิร์ด) ปี (1999)
- แอททอล์น (ซ๊อกเก็ต A) (ทันเดอร์เบิร์ด) ปี (2000)
- ดูรอน (สปริตไฟล์, มอร์แกน, แอปเปิลเบรด) ปี (2000)
- แอททอล์น เอ็มพี (พาโลมิโน่, โทรอฟเบรด, บอร์ตัน, โททอร์) ปี (2001)
- โมบิล แอททอล์น 4 (คอร์เวอร์เต้/โมบิล พาโลมิโน่) ปี (2001)
- แอททอล์น เอ๊กซ์พี (พาโลมิโน่, โทรอฟเบรด (A/B) , บอร์ตัน, โททอร์) ปี (2001)
- โมบิล แอททอล์น เอ๊กซ์พี (โมบิล พาโลมิโน่) ปี (2002)
- โมบิล ดูรอน (คาเมรอล/โมบิล มอร์แกน) ปี (2002)
- เซพพรอน (โทรอฟเบรด, บอร์ตัน, โททอร์') ปี (2004)
- โมบิล เซพพรอน
สถาปัตยกรรม K8
[แก้]ซี่รีย์ K8 ตั้งแต่ (2003 ถึง ปัจจุบัน) Families: ออพเทอรอน, แอททอล์น 64, เซมพรอน, ทูเรี่ยน 64, แอททอล์น 64 X2, ทูเรี่ยน 64 X2
- ออพเทอรอน (สเลดจ์แฮมเมอร์) ปี (2003)
- แอททอล์น 64 FX (สเลดจ์แฮมเมอร์) ปี (2003)
- แอททอล์น 64 (แคลวแฮมเมอร์/นิวคาสเซิล) ปี (2003)
- โมบิล แอททอล์น 64 (นิวคาสเซิล) ปี (2004)
- แอททอล์น เอ๊กซ์พี-เอ็ม (ดับลิน) ปี (2004) หมายเหตุ: AMD64 ถูกปิดการใช้งาน
- เซมพรอน (ปารีส) ปี (2004) หมายเหตุ: AMD64 ถูกปิดการใช้งาน
- แอททอล์น 64 (วินเชสเตอร์) ปี (2004)
- ทูเรี่ยน 64 ('แลนเคสเตอร์) ปี (2005)
- แอททอล์น 64 FX (ซาดิเอโก้) (ครึ่งปีแรกปี 2005)
- แอททอล์น 64 (ซาดิเอโก้/เวนิส) (ครั้งปีแรกปี 2005)
- เซมพรอน (ปาเลอโม่) (ครั้งปีแรกปี 2005)
- แอททอล์น 64 X2 (แทนเชสเตอร์) (ครึ่งปีแรกปี 2005)
- แอททอล์น 64 X2 (โทลีโด้) (ครึ่งปีแรกปี 2005)
- แอททอล์น 64 FX (โทลีโด้) (ครึ่งปีหลังปี 2005)
- ทูเรี่ยน 64 X2 (เทย์เลอร์) (ครึ่งปีแรกปี 2006)
- แอททอล์น 64 X2 (ไวด์ซอร์) (ครึ่งปีแรกปี 2006)
- แอททอล์น 64 FX (ไวด์ซอร์) (ครึ่งปีแรกปี 2006)
- แอททอล์น 64 X2 (บริสเบน) (ครึ่งปีหลังปี 2006)
- แอททอล์น 64 (ออลีนส์) (ครึ่งปีหลังปี 2006)
- เซมพรอน (มะนิลา) (ครึ่งปีแรกปี 2006)
- เซมพรอน (สปาร์ตา)
- ออพเทอรอน (ซานต้า โรส)
- ออพเทอรอน (ซานต้า แอนนา)
- โมบิลเซมพรอน
สถาปัตยกรรม K10
[แก้]ซีพียูซีรีส์ K10 ตั้งแต่ปี (2007 ถึง ปัจจุบัน)
- ออพเทอรอน (Barcelona) วันที่ (10 กันยายน ปี 2007)
- ฟีน่อม FX (Agena FX) (ไตรมาสที่ 1 ปี 2008)
- ฟีน่อม X4 (ซีรีส์ 9) (Agena) (19 กันยายน ปี 2007) [1])
- ฟีน่อม X3 (ซีรีส์ 8) (Toliman) (เมษายน ปี 2008[2])
- แอททอล์น ซี่รีย์ 6 (Kuma) (กุมภาพันธ์ ปี 2007[3])
- แอททอล์น ซีรีส์ 4 (Kuma) (ปี 2008)
- แอททอล์น X2 (Rana) (ไตรมาสที่ 4 ปี 2007)
- เซมพรอน (Spica)
- ออพเทอรอน (Budapest)
- ออพเทอรอน (Shanghai)
- ออพเทอรอน (Magny-Cours)
- ฟีน่อม II (X4 ในวันที่ 8 มกราคม ปี 2009', X6 ในวันที่ 27 เมษายน ปี 2010')
- แอททอล์น II
- ทูเรี่ยน II
สถาปัตยกรรมเอพียูบน K10 ตั้งแต่ปี (2011 ถึง ปัจจุบัน)
สถาปัตยกรรม บูลโดเซอร์
[แก้]บูลโดเซอร์ ซีรีส์ ตั้งแต่ปี (2011 ถึง ปัจจุบัน)
- อินเตอร์ลากอส ออพเทอรอน (แกน บูลโดเซอร์') (จำหน่ายไตรมาสที่ 4 ปี 2011)
- แซมบีซี่ (แกน บูลโดเซอร์) (จำหน่ายไตรมาสที่ 4 ปี 2011)
- วิชฮีร่าห์ (แกน บูลโดเซอร์) (จำหน่ายไตรมาสที่ 4 ปี 2012)
สถาปัตยกรรม บ๊อบแคท
[แก้]APUs ซีรีส์ บ๊อบแคท ตั้งแต่ปี (2011 ถึง ปัจจุบัน)
- ออนทาริโอ ซีพียู (บ๊อบแคท + ซีดาร์) (จำหน่ายไตรมาสที่ 1 ปี 2011)
- ซาเคทท์ ซีพียู (บ๊อบแคท + ซีดาร์) (จำหน่ายไตรมาสที่ 1 ปี 2011)
ดูเพิ่ม
[แก้]- ตารางเปรียบเทียบไมโครโปรเซสเซอร์ของเอเอ็มดี
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์พกพาของเอเอ็มดี
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี แอททอล์น
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี ดูรอน
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี เซมพรอน
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี ทูเรี่ยน
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี ออพเทอรอน
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี ฟีน่อม
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี แอฟเอ๊กซ์
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี เอ
- รายชื่อของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี ฟิวชั่น
- รายชื่อสถาปัตยกรรมของโปรเซสเซอร์เอเอ็มดี
ผู้แข่งขันอื่นในตลาดโปรเซสเซอร์ X86 :
- อินเทล คอร์ปอร์เรชั่น: ดูที่ รายชื่อโปรเซสเซอร์ของอินเทล
- เวีย เทคโนโลยี ดูที่ (รายชื่อไมโครโปรเซสเซอร์ C3, C7 บนแพลต์ฟอร์ม อีเพีย)
- ครายริกซ์ (ขายกิจการให้กับ เนชั่นแนล เซมิคอนดัคเตอร์)
- เนชั่นแนล เซมิคอนดัคเตอร์ (ทำถึง จีโอดี หลังจากนั้นถูกเข้าซื้อกิจการโดย เอเอ็มดี)
- NEC คอร์ปอร์เรชั่น ดูที่ (V20, 25, ..., 50)
- ทรานซ์เมต้า ดูที่ (ครูโซร์ และ เอฟฟิกนอล (ถึงปี 2009) )
External links
[แก้]- AMD processor guide (10stripe)
- AMD processor upgrades (Chris Hare) เก็บถาวร 2012-10-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- AMD Code Names (amd.com)
- http://www.techpowerup.com/cpudb/
References
[แก้]- ↑ "AMD's Phenom Unveiled: A Somber Farewell to K8". AnandTech. สืบค้นเมื่อ 2008-08-29.
- ↑ "Thrice the fun? A review of the triple-core AMD Phenom X3". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ 2008-08-29.
- ↑ "Does AMD's Athlon 64 X2 6000+ Have Any Kick Left? : AMD Athlon 64 X2 6000+ Kicks Off To Challenge Core 2". Tom's Hardware. สืบค้นเมื่อ 2008-08-29.