ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อเครื่องยนต์อีซูซุ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อีซูซุไม่เพียงแต่มีชื่อเสียงในด้านการผลิตเครื่องยนต์ของตัวเองเท่านั้น แต่ยังมีการนำเครื่องยนต์ของเจเนอรัลมอเตอร์มาใช้ในรถยนต์ของตนเองอีกด้วย นอกจากนี้ อีซูซุยังเป็นผู้ผลิตเครื่องยนต์ให้กับผู้ผลิตรถยนต์ชั้นนำระดับโลกมากมาย อาทิ เจเนอรัลมอเตอร์, เรโนลต์, ซ้าบ, ฮอนด้า, นิสสัน, โอเปิล, โตโยต้า และมาสด้า

ภาพรวม[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุใช้รหัสตัวอักษรสองตัวด้านหน้าเพื่อระบุจำนวนสูบและตระกูลเครื่องยนต์ เครื่องยนต์ที่มีจำหน่ายในปัจจุบันมีดังนี้:

จำนวนสูบ ตระกูล ปริมาตรความจุ กำลัง หมายเหตุ
3 C 0.57–1.6 L (34.8–97.6 cu in) 11.8–23.9 hp (8.8–17.8 kW)
4 L 2.179 L (133.0 cu in) 40–62 hp (30–46 kW)
4 J 2.999 L (183.0 cu in) 70–115 hp (52–86 kW)
4 B 4.3 L (262.4 cu in) 98–111 hp (73–83 kW)
6 6.5 L (396.7 cu in) 154–174 hp (115–130 kW)
4 H 5.193 L (316.9 cu in) 173–188 hp (129–140 kW) ยังมีจำหน่ายในรูปแบบเครื่องยนต์แก๊สธรรมชาติ (4HV1)[1][2]
6 7.790 L (475.4 cu in) 282 hp (210 kW)
6 U 9.839 L (600.4 cu in) 362 hp (270 kW)
6 W 15.681 L (956.9 cu in) 512 hp (382 kW)

2 สูบ[แก้]

ดีเซล[แก้]

รหัสเครื่องยนต์ คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ปริมาตรความจุ กำลัง ปีที่ผลิต น้ำหนัก
2AA1 มีรุ่น 3 สูบ คือ 3AA1 ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง Bosch PES-K ใช้ร่วมกับ 2AB1 และคล้ายกับ PES-A ที่ใช้กับเครื่องยนต์ 3AA1, 3AB1, C220 และ C240[3] 86 mm (3.4 in) 84 mm (3.3 in) 975 cc (59.5 cu in) 19.5 แรงม้า (14.3 กิโลวัตต์) @ 2800 รอบต่อนาที 2515–2532 160 kg (350 lb)[4]
2AB1 มีรุ่น 3 สูบ คือ 3AB1 86 mm (3.4 in) 106 mm (4.2 in) 1,184 cc (72.3 cu in) 25.5 แรงม้า (18.8 กิโลวัตต์) @ 2800 รอบต่อนาที 2513–2534 160 kg (350 lb)[5]
UM-2AB1 คือเครื่องยนต์ 2AB1 สำหรับใช้งานทางทะเล 86 mm (3.4 in) 106 mm (4.2 in) 1,184 cc (72.3 cu in) 2514–2534
2CA1 เครื่องยนต์สำหรับใช้งานทางทะเล ผลิตโดย Klassen Engines - Suzie 14 653 cc (39.8 cu in) 2526
2KC1 74 mm (2.9 in) 76 mm (3.0 in) 653 cc (39.8 cu in) 2531–2537
UM-2KC1 คือเครื่องยนต์ 2KC1 สำหรับใช้งานทางทะเล 74 mm (2.9 in) 76 mm (3.0 in)

3 สูบ[แก้]

ดีเซล[แก้]

เครื่องยนต์ตระกูล A[แก้]

รหัสเครื่องยนต์ คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ปริมาตรความจุ กำลัง ปีที่ผลิต น้ำหนัก
3AA1 เครื่องยนต์นี้มีขนาดกระบอกสูบและช่วงชักเท่ากับเครื่องยนต์ดีเซล 4 สูบ C190 และเครื่องยนต์ 2 สูบ 2AA1 ใช้ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง Bosch PES-A เหมือนกับที่ใช้ในเครื่องยนต์ 3AA1, 3AB1, C220 และ C240[3] 86 mm (3.4 in) 84 mm (3.3 in) 1,463 cc (89.3 cu in) 29.5 PS (21.7 kW) @2800rpm 2515–2533 197 kg (434 lb).[6]
3AB1 เครื่องยนต์นี้มีขนาดกระบอกสูบเท่ากับ 2AA1/3AA1/C240 แต่มีช่วงชักที่ยาวกว่ามาก นอกจากนี้ยังมีรุ่น 2 สูบ คือ 2AB1 86 mm (3.4 in) 102 mm (4.0 in) 1,777 cc (108.4 cu in) 38 PS (28 kW) @2800rpm 2514– 217 kg (478 lb).[7]
3AD1 2520–2533
3AD1-T 2521–2522

เครื่องยนต์ตระกูล L[8][แก้]

รหัสเครื่องยนต์ คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ปริมาตรความจุ กำลัง ปีที่ผลิต ขบวนเปิดปิดลิ้น
3LA1
3LB1 OHV
3LD1 OHV
3LD1 OHV

4 สูบ[แก้]

เบนซิน[แก้]

เครื่องยนต์ GH[แก้]

เจเนอรัลมอเตอร์[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ G[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ X[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ Z[แก้]

ดีเซล[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ B[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ C[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ DL[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ E[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ F[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ H[แก้]

เครื่องยนต์ทุกรุ่นเป็นแบบ SOHC หัวฉีดตรง มีทั้งแบบดูดอากาศธรรมดา (N/A) เทอร์โบ (T) หรือ เทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ (T/I)

กระบอกสูบมี 3 ขนาด ได้แก่ 110 มม., 112 มม. และ 115 มม.

ช่วงชักมี 4 ขนาด ได้แก่ 110 มม., 115 มม., 120 มม. และ 125 มม.

รุ่น 4HL1 มีระบบหัวฉีดแรงดันสูงแบบคอมมอนเรลควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (CR-ECS)

รหัสเครื่องยนต์ ความกว้างกระบอกสูบ ช่วงชัก ปริมาตรความจุ กำลัง แรงบิด จำนวนวาล์ว หมายเหตุ ใช้ใน
4HE1-T 110 มิลลิเมตร 125 มิลลิเมตร 4,752 ซีซี 148 แรงม้า ที่ 2,900 รอบ/นาที 400 นิวตัน-เมตร ที่ 1,800 รอบ/นาที 8 T Isuzu NQR500 (พ.ศ. 2541)
4HE1-XN 110 มิลลิเมตร 125 มิลลิเมตร 4,752 ซีซี 183 แรงม้า ที่ 2,700 รอบ/นาที 458 นิวตัน-เมตร ที่ 2,000–2,400 รอบ/นาที 8 T Isuzu NPR400 (พ.ศ. 2546)
4HF1 112 มิลลิเมตร 110 มิลลิเมตร 4,334 ซีซี 116 แรงม้า ที่ 3,200 รอบ/นาที 285 นิวตัน-เมตร ที่ 1,800 รอบ/นาที 8 N/A Isuzu NPR200 (พ.ศ. 2541)
4HG1-T 115 มิลลิเมตร 110 มิลลิเมตร 4.57 ลิตร 121 แรงม้า ที่ 3,000 รอบ/นาที 325 นิวตัน-เมตร ที่ 1,800 รอบ/นาที 8 T Isuzu NPR350A (พ.ศ. 2543)
4HJ1 115 มิลลิเมตร 120 มิลลิเมตร 4,985 ซีซี 151 แรงม้า ที่ 3,100 รอบ/นาที 363 นิวตัน-เมตร ที่ 1,600 รอบ/นาที 8 N/A Isuzu Elf (พ.ศ. 2541–47)
4HK1-TCN 115 มิลลิเมตร 125 มิลลิเมตร 5,193 ซีซี 148 แรงม้า ที่ 2,600 รอบ/นาที 402 นิวตัน-เมตร ที่ 1,500–2,600 รอบ/นาที 16 T Isuzu NPR400 (พ.ศ. 2549)[9]
4HK1-TCC 115 มิลลิเมตร 125 มิลลิเมตร 5,193 ซีซี 189 แรงม้า ที่ 2,600 รอบ/นาที 510 นิวตัน-เมตร ที่ 1,500–2,000 รอบ/นาที 16 T Isuzu NQR500 (พ.ศ. 2551)
4HK1-TCS 115 มิลลิเมตร 125 มิลลิเมตร 5,193 ซีซี 175 แรงม้า ที่ 2,600 รอบ/นาที 500 นิวตัน-เมตร ที่ 1,600–2,600 รอบ/นาที 16 T Isuzu NQR500 (พ.ศ. 2548)
4HL1 115 มิลลิเมตร 115 มิลลิเมตร 4,777 ซีซี 140 แรงม้า ที่ 3,000 รอบ/นาที 333 นิวตัน‐เมตร ที่ 1,500 รอบ/นาที 16 CR-ECS; N/A
4HL1-N 115 มิลลิเมตร 115 มิลลิเมตร 4,777 ซีซี 131 แรงม้า ที่ 3,000 รอบ/นาที 333 นิวตัน‐เมตร ที่ 1,500 รอบ/นาที 16 CR-ECS; N/A
4HL1-TC 115 มิลลิเมตร 115 มิลลิเมตร 4,777 ซีซี 160 แรงม้า ที่ 2,700 รอบ/นาที 425 นิวตัน‐เมตร ที่ 1,500 รอบ/นาที 16 CR-ECS; T/I
4HL1-TCS 115 มิลลิเมตร 115 มิลลิเมตร 4,777 ซีซี 179 แรงม้า ที่ 2,700 รอบ/นาที 500 นิวตัน‐เมตร ที่ 1,500 รอบ/นาที 16 CR-ECS; T/I

เครื่องยนต์อีซูซุ J[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ 4JJ3-TCX

เปิดตัวในปี พ.ศ. 2528 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลไดเรกต์อินเจ็กชั่นขนาด 2.5 หรือ 2.8 ลิตร[10] เริ่มแรกถูกติดตั้งเฉพาะใน Isuzu Elf เท่านั้น แต่ต่อมาก็ได้ถูกนำไปใช้ในรถอีซูซุรุ่นอื่น ๆ เครื่องยนต์รุ่นนี้มาแทนที่เครื่องยนต์อีซูซุ C ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า ในภายหลังมีการเปิดตัวรุ่นขนาด 3.0 และ 3.1 ลิตร ซึ่งยังคงเป็นเครื่องยนต์แบบ 4 สูบเรียง

รหัสเครื่องยนต์ คำอธิบาย ความกว้างกระบอกสูบ ช่วงชัก ปริมาตรความจุ อัตราส่วนการอัด กำลัง แรงบิด ขบวนเปิดปิดลิ้น
4JA1 เป็นเครื่องยนต์ไดเรกต์อินเจ็กชั่น มีทั้งแบบ 8 และ 16 วาล์ว ใช้ในรถกระบะ Isuzu Faster ที่รู้จักกันในหลายชื่อ รวมไปจนถึง Isuzu Cameo ในตลาดไทย (เช่นเดียวกับ Mazda B2500 "Thunder" ปี 2534–40; Ford Marathon ปี 2535–39) และ Isuzu Panther, ซึ่งเป็นรถยนต์ MUV ที่ผลิตในอินโดนีเซีย สำหรับรุ่นไม่มีเทอร์โบ 8 วาล์วตามสเปคของไทย กำลังสูงสุดอยู่ที่ 90 แรงม้า ในปี 2535 93 มิลลิเมตร 92 มิลลิเมตร 2.5 ลิตร (2,499 ซีซี) 18.4:1 90 แรงม้าที่ 4,200 รอบ/นาที[11] 172 นิวตัน-เมตร ที่ 2,000 รอบ/นาที
4JA1-L เป็นรุ่นมีเทอร์โบของ 4JA1 แต่ไม่มีอินเตอร์คูลเลอร์ โดยมีอัตราส่วนกำลังอัด 18.5:1 รถกระบะ Isuzu KB250 (D-Max) ที่ผลิตโดย GM South Africa ให้กำลังสูงสุด 79 แรงม้า (58 กิโลวัตต์) ที่ 3,800 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 170 นิวตันเมตร (130 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,800 รอบต่อนาที สำหรับตลาดอินโดนีเซีย เครื่องยนต์นี้ให้กำลังสูงสุด 80 แรงม้า (59 กิโลวัตต์) ที่ 3,500 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 191 นิวตันเมตร (141 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,800 รอบต่อนาที ถูกติดตั้งใน Isuzu Bison ซึ่งเป็น Mitsubishi Delica (L300) ที่เปลี่ยนชื่อ, Isuzu Pickup รุ่นเก่า, Isuzu Panther และ Isuzu Traga ในฟิลิปปินส์ เครื่องยนต์นี้ให้กำลังสูงสุด 85 แรงม้า (63 กิโลวัตต์) ที่ 3,900 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 185 นิวตันเมตร (136 ปอนด์-ฟุต) ที่ 2,000 รอบต่อนาที ใช้ใน Isuzu Crosswind ซึ่งเป็นรุ่น Panther ที่ผลิตในประเทศ และใน Chevrolet Tavera ของอินเดีย (อีกเวอร์ชั่นของ Panther) ให้กำลังสูงสุด 73.4 แรงม้า (54.0 กิโลวัตต์) ที่ 3,900 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 171 นิวตันเมตร (126 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,800 รอบต่อนาที ซึ่งเป็นมาตรฐาน BS-3 (เทียบเท่า Euro 3) 93 มิลลิเมตร 92 มิลลิเมตร 2.5 ลิตร (2,499 ซีซี)
4JA1 Blue Power เป็นรุ่น Euro 4 ของ 4JA1-L จุดเด่นที่ต่างจากรุ่นเดิมคือ ระบบหัวฉีดคอมมอนเรล DI แรงดันสูงแทนระบบ DI แบบเดิม และมีกรองไอเสีย DPF[12] ซึ่งช่วยให้ผ่านมาตรฐาน Euro 4 มีกำลังสูงสุด 78 แรงม้า (57 กิโลวัตต์) ที่ 3900 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 176.5 นิวตันเมตร (18.00 กิโลกรัมเมตร) ที่ 1800 รอบต่อนาที นิยมใช้ในรถ Isuzu Traviz[13] ซึ่งเป็น Isuzu Traga รุ่นที่ผลิตสำหรับตลาดฟิลิปปินส์ 2.5 ลิตร (2,499 ซีซี) 78 แรงม้า ที่ 3,900 รอบ/นาที 176.5 นิวตัน-เมตร ที่ 1,800 รอบ/นาที
4JA1-T เป็นรุ่นมีเทอร์โบของ 4JA1 93 มิลลิเมตร 92 มิลลิเมตร 2.5 ลิตร (2,499) ซีซี 71 แรงม้า OHV
4JB1 เป็นเครื่องยนต์ ดีเซลไดเรกต์อินเจ็กชั่น ระบายความร้อนด้วยน้ำ มีจุดเด่นคือ รอบเครื่องยนต์สูงและกำลังแรง เนื่องจากใช้ปั๊มหัวฉีดแบบโรตารี VE รุ่นอุตสาหกรรมมีกำลัง 90 แรงม้า แรงบิดสูงสุด 135 ปอนด์-ฟุต ที่ 2000 รอบต่อนาที ส่วนรุ่นใช้งานทั่วไปจะใช้ปั๊มแบบเฟือง และหัวฉีดแบบกลไก Bosch "A" น้ำหนักเครื่องเปล่าอยู่ที่ 230 กิโลกรัม (510 ปอนด์) ถูกติดตั้งใน Isuzu Bighorn (Trooper), Mu (Rodeo), Wizard (LWB Rodeo), Rodeo Pickup และ Holden Jackaroo ที่จำหน่ายเกือบทั่วโลก ยกเว้นอเมริกาเหนือ จนถึงต้นทศวรรษที่ 1990 นอกจากนี้ยังถูกติดตั้งใน Isuzu Elf 150 และรถบรรทุกขนาดเล็กอื่น ๆ ด้วย 93 มิลลิเมตร 102 มิลลิเมตร 2.8 ลิตร (2,771 ซีซี) 18.2:1 87 แรงม้า[14] 179 นิวตัน-เมตร ที่ 2,000 รอบ/นาที OHV
4JB1-T เป็นรุ่นมีเทอร์โบของ 4JB1 บางรุ่นยังมีระบบอินเตอร์คูลเลอร์ เครื่อยนต์รุ่นนี้ยังคงมีการผลิตอย่างต่อเนื่องในประเทศจีน โดยทั้งบริษัท joint ventures ของอีซูซุในจีนและผู้ผลิตอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น YANGZI จุดเด่นคือ มีการพัฒนาเครื่องยนต์ให้ทันสมัยมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปรับระบบหัวฉีดเป็นแบบคอมมอนเรล DI เพื่อลดมลพิษให้ตรงตามมาตรฐานไอเสียระดับ National 4 หรือแม้แต่การเพิ่มจำนวนวาล์วเป็น 16 วาล์ว DOHC 93 มิลลิเมตร 102 มิลลิเมตร 2.8 ลิตร (2,771 ซีซี) 17.2:1 100–115 แรงม้า[15] 285 นิวตัน-เมตร ที่ 2,000 รอบ/นาที
4JC1 88 มิลลิเมตร 92 มิลลิเมตร 2.3 ลิตร (2,238 ซีซี) OHV
4JD1 84 มิลลิเมตร 92 มิลลิเมตร 2.1 ลิตร (2,039 ซีซี) OHV
4JE1 84 มิลลิเมตร 84 มิลลิเมตร 1.9 ลิตร (1,862 ซีซี) OHV
4JF1 75.3 มิลลิเมตร 84 มิลลิเมตร 1.5 ลิตร (1,496 ซีซี) OHV
4JK1-TC เป็นเครื่องยนต์คอมมอนเรลไดเรกต์เจ็กชั่นเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ ถูกติดตั้งใน Isuzu D-Max รุ่น Low หรือรุ่นพื้นฐานสำหรับตลาดฟิลิปปินส์ และ Chevrolet Colorado รุ่นแรกที่ผลิตในประเทศไทย 95.4 มิลลิเมตร 87.4 มิลลิเมตร 2.5 ลิตร (2,499 ซีซี) 18.1:1
116 แรงม้า ที่ 3,600 รอบ/นาที
208 นิวตัน-เมตร ที่ 1,800–2,200 รอบ/นาที DOHC 16 วาล์ว
4JK1-TCX เป็นเครื่องยนต์คอมมอนเรลไดเรกต์อินเจ็กชั่นระบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมระบบเทอร์โบแปรผัน (VGS) และอัตราส่วนกำลังอัด 18.1:1 เครื่องยนต์รุ่นนี้เคยติดตั้งใน Isuzu D-Max LT รุ่น 4×4 ที่ผลิตในไทยและออสเตรเลีย รวมถึง Holden Rodeo และ Chevrolet Colorado รุ่นแรก ๆ เครื่องยนต์รุ่นเดิมยังคงถูกใช้ใน Isuzu KB ซึ่งเป็น D-Max รุ่นใหม่ของแอฟริกาใต้ และมีการปรับลดอัตราส่วนกำลังอัดลงเหลือ 16.0:1 ใน D-Max รุ่น X-Series ของตลาดประเทศไทย 95.4 มิลลิเมตร 87.4 มิลลิเมตร 2.5 ลิตร (2,499 ซีซี) 136 แรงม้า ที่ 3,600 รอบ/นาที 325 นิวตัน-เมตร ที่ 1,800–2,800 รอบ/นาที DOHC 16 วาล์ว
4JK-1E5-TC เป็นรุ่นเทอร์โบคู่ของ 4JK1 ติดตั้งใน Isuzu D-Max รุ่นส่งออกไปยังยุโรปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เครื่องยนต์รุ่นนี้ผ่านมาตรฐานไอเสีย Euro5b โดยมีอัตราส่วนกำลังอัดอยู่ที่ 17.0:1 95.4 มิลลิเมตร 87.4 มิลลิเมตร 2.5 ลิตร (2,499 ซีซี) 160 แรงม้า ที่ 3,600 รอบ/นาที 400 นิวตัน-เมตร
4JG1 ใช้ปั๊มน้ำมันเครื่องแบบ trochoid ขับเคลื่อนด้วยเฟืองจากเพลาลูกเบี้ยว ระบบเชื้อเพลิงทำงานด้วยลูกสูบและหัวฉีด เรียกว่า “ระบบฉีดเชื้อเพลิงแบบลูกสูบแรงดันสูง” ใช้ปั๊มเชื้อเพลิง Zexel แบบแถวเรียง Bosch A-type 95.4 มิลลิเมตร 107 มิลลิเมตร 3.1 ลิตร (3,059 ซีซี) 18.6:1 65 แรงม้า ที่ 2,500 รอบ/นาที 205 นิวตัน-เมตร OHV
4JG1T เป็นรุ่นมีเทอร์โบของ 4JG1 ความแตกต่างที่เห็นได้ชัดคืออัตราส่วนกำลังอัดที่ลดลงเหลือ 18.1:1 95.4 มิลลิเมตร 107 มิลลิเมตร 3.1 ลิตร (3,059 ซีซี) 18.1:1 86 แรงม้า ที่ 2,500 รอบ/นาที 265 นิวตัน-เมตร OHV
4JG2 เป็นเครื่องยนต์อินไดเรกต์อินเจ็กชั่น ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อแทนที่เครื่องยนต์ 4JB1-T ใน Isuzu Bighorn (Trooper II) และ Mu/Wizard (Rodeo) สำหรับตลาดส่วนใหญ่[16] เครื่องยนต์รุ่นนี้ได้รับการปรับปรุงระบบหัวฉีดจากระบบควบคุมด้วยกลไกมาเป็นระบบควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ 95.4 มิลลิเมตร 107 มิลลิเมตร 3.1 ลิตร (3,059 ซีซี) 18.6:1 95–114 แรงม้า 205 นิวตัน-เมตร ที่ 2,500 รอบ/นาที
4JH1-T เป็นเครื่องยนต์ไดเรกต์อินเจ็กชั่นเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ขนาด 3.0 ลิตร ถูกพัฒนาขึ้นมาแทนเครื่องยนต์ 4JB1-T ใน Isuzu Faster/Rodeo ซึ่lรู้จักกันในชื่อ Holden Rodeo ใ นนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย โดยบางรุ่นจะมีปั๊มหัวฉีดควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 95.4 มิลลิเมตร 104.9 มิลลิเมตร 3.0 ลิตร (2,999 ซีซี) 17.7:1 120 แรงม้า ที่ 3,800 รอบ/นาที
245 นิวตัน-เมตร ที่ 2,000 รอบ/นาที OHV
4JH1-TC เป็นเครื่องยนต์คอมมอนเรลไดเรกต์อินเจ็กชั่นเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ บลูเพาเวอร์ขนาด 3.0 ลิตร ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อแทนที่เครื่องยนต์ 4JB1-T ในรถบรรทุก Isuzu NHR และ NKR ในบางตลาด โดยเครื่องยนต์รุ่นนี้ ถูกใช้ใน Isuzu QKR ของฟิลิปปินส์ ได้รับการปรับปรุง ECU ในปี พ.ศ. 2547 ส่งผลให้มีกำลังเพิ่มขึ้นเป็น 163 แรงม้า ซึ่งเครื่องยนต์รุ่นที่ได้รับการปรับปรุงนี้มีการนำไปใช้ในบางประเทศ 95.4 มิลลิเมตร 104.9 มิลลิเมตร 3.0 ลิตร (2,999 ซีซี) 105 แรงม้า 230 นิวตัน-เมตร
4JJ1-TC เป็นเครื่องยนต์คอมมอนเรลไดเรกต์อินเจ็กชั่นเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ขนาด 3.0 ลิตร ถูกพัฒนาขึ้นมาแทนที่เครื่องยนต์ 4JH1 ใน Holden Rodeo และ Chevrolet/Holden Colorado รุ่นหลังที่ผลิตในประเทศไทย เครื่องยนต์รุ่นนี้มีอัตราส่วนกำลังอัด 17.5:1 นิยมใช้ในฟิลิปปินส์สำหรับ Isuzu Alterra ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548–57 เครื่องยนต์ 4JJ1-TC-iTEQ ขนาด 3.0 ลิตร เป็นเครื่องยนต์ดีเซลที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยผ่านมาตรฐานไอเสีย Euro 3 เครื่องยนต์รุ่นนี้ให้กำลัง 144 แรงม้า และแรงบิด 294 นิวตันเมตร 95.4 มิลลิเมตร 104.9 มิลลิเมตร 3.0 ลิตร (2,999 ซีซี) 17.5:1 146 แรงม้า ที่ 3,600 รอบ/นาที 294 นิวตัน-เมตร ที่ 1,400–3,400 รอบ/นาที DOHC 16 วาล์ว
4JJ1-TCX เป็นเครื่องยนต์คอมมอนเรลไดเรกต์อินเจ็กชั่น พร้อมระบบเทอร์โบแปรผัน (VGS) และอินเตอร์คูลเลอร์ขนาด 3.0 ลิตร อัตราส่วนกำลังอัดเดิมอยู่ที่ 17.5:1 กำลังเครื่องยนต์สูงสุดรุ่นปี พ.ศ. 2549 อยู่ที่ 163 แรงม้า แรงบิดสูงสุด 360 นิวตันเมตร (สำหรับเกียร์ธรรมดา) และ 333 นิวตันเมตร (สำหรับเกียร์อัตโนมัติ) เพิ่มกำลังขึ้นเป็น 177 แรงม้า แรงบิด 380 นิวตันเมตร ในปี พ.ศ. 2554 โดยมีการลดอัตราส่วนกำลังอัดลงเหลือ 17.3:1 ต่อมาในปี พ.ศ. 2558 ได้มีนำเทคโนโลยีระบบ “BluePower” มาใช้เพื่อปรับปรุงการประหยัดน้ำมัน โดยมีการลดอัตราส่วนกำลังอัดลงเหลือ 16.5:1 ทั้งใน Isuzu D-Max และ Mu-X ที่ได้รับการปรับโฉม 95.4 มิลลิเมตร 104.9 มิลลิเมตร 3.0 ลิตร (2,999 ซีซี) 17.3:1 163 แรงม้า ที่ 3,600 รอบ/นาที 360 นิวตัน-เมตร ที่ 1,800–2,800 รอบ/นาที DOHC 16 วาล์ว
4JJ3-TCX เป็นเครื่องยนต์คอมมอนเรลไดเรกต์อินเจ็กชั่นขนาด 3.0 ลิตร รุ่นใหม่ล่าสุด มาพร้อมระบบเทอร์โบแปรผัน (VGS) และอินเตอร์คูลเลอร์ ถูกนำมาแทนที่เครื่องยนต์ 4JJ1-TCX ใน Isuzu D-Max ใช้หัวฉีดแบบยูนิต นอกจากนั้น ยังมีการใช้เทคโนโลยีระบบ “BluePower” 95.4 มิลลิเมตร 104.9 มิลลิเมตร 3.0 ลิตร (2,999 ซีซี) 16.3:1 190 แรงม้า ที่ 3,600 รอบ/นาที 450 นิวตัน-เมตร ที่ 1,600–2,600 รอบ/นาที DOHC 16 วาล์ว
4JJ1-T เครื่องยนต์ 4JJ1-T REDTECH เป็นเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 3.0 ลิตร ไดเรกต์อินเจ็กชั่นเทอร์โบ ระบายความร้อนด้วยน้ำซึ่งทำตลาดในอเมริกาเหนือและใต้ในรูปแบบเครื่องยนต์อุตสาหกรรม ได้รับการรับรองมาตรฐาน US EPA Tier 4 และ Euro 3b/4 3.0 ลิตร (2,999 ซีซี).0L

(183.1 cu in)

70 แรงม้า ที่ 2,000 รอบ/นาที (รอบแปรผัน) OHV
4JJ1-X เครื่องยนต์ 4JH1-X REDTECH เป็นเครื่องยนต์ดีเซลไดเรกต์อินเจ็กชั่นเทอร์โบขนาด 3.0 ลิตร ระบายความร้อนด้วยน้ำ ซึ่งทำตลาดในอเมริกาเหนือและใต้ในรูปแบบเครื่องยนต์อุตสาหกรรมความเร็วรอบคงที่หรือแปรผัน ได้รับการรับรองมาตรฐาน US EPA Tier 4 และ Euro 3b/4 95.4 มิลลิเมตร 104.9 มิลลิเมตร 3.0 ลิตร (2,999 ซีซี)

(183.1 cu in)

  • 95 แรงม้า ที่ 1,800 รอบ/นาที (รอบคงที่)
  • 115 แรงม้า ที่ 1,800 รอบ/นาที (รอบแปรผัน)
408 นิวตัน-เมตร ที่ 2,000 รอบ/นาที OHV
4JX1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 3.0 ลิตร ระบบหัวฉีดแบบ HEUI (High-Pressure Electronically Unit Injection) ถูกพัฒนาขึ้นมาแทนที่เครื่องยนต์ง 4JG2 ใน Isuzu Bighorn/Trooper/Holden Jackaroo 95.4 มิลลิเมตร 104.9 มิลลิเมตร 3.0 ลิตร (2999 ซีซี) 19.0:1 157 แรงม้า ที่ 3,900 รอบ/นาที 334 นิวตัน-เมตร ที่ 3,900 รอบ/นาที DOHC

เครื่องยนต์อีซูซุ RZ[แก้]

  • RZ4E-TC เป็นเครื่องยนต์ดีเซลไดเรกต์อินเจ็กชั่นเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ขนาด 1.9 ลิตร ถูกออกแบบเพื่อมาแทนเครื่องยนต์ 4JK1-TCX ที่เคยใช้ใน Isuzu D-Max และ Isuzu MU-X มีปริมาตรความจุกระบอกสูบ 1,898 ซีซี ซึ่งน้อยกว่า 4JK1-TCX อยู่ 601 ซีซี แม้จะมีขนาดเล็ก แต่กลับมีประสิทธิภาพที่ดีกว่า โดยมีกำลังสูงสุด 150 แรงม้าที่ 3600 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 258 ปอนด์-ฟุต ที่ระหว่าง 1800–2600 รอบต่อนาที ซึ่งมีแรงม้ามากกว่ารุ่นเก่า 16 แรงม้า และแรงบิดมากกว่า 22 ปอนด์-ฟุต นอกจากนี้ อีซูซุยังอ้างว่าเครื่องยนต์รุ่นนี้จะประหยัดน้ำมันมากกว่ารุ่นเดิมถึง 19% อีกด้วย โดยมีกระบอกสูบกว้าง 80.0 มม. และช่วงชักยาว 94.4 มม.

CNG[แก้]

อีซูซุเป็นบริษัทแรก ๆ ที่พัฒนาเครื่องยนต์แก๊สธรรมชาติอัด (Compressed Natural Gas; CNG) สำหรับรถบรรทุก โดยเครื่องยนต์ดังกล่าวมีการเผาไหม้ที่หมดจด การปล่อยควันดำเป็นศูนย์

เครื่องยนต์ CNG[แก้]

  • 4HF1-CNG เป็นเครื่องยนต์ CNG ปริมาตรความจุ 4.334 ลิตร (อิงจากเครื่องยนต์ดีเซลแบบฉีดน้ำมันตรง) ใช้ระบบจุดระเบิดแบบไม่สัมผัส แรงบิดสูงสุด 323 นิวตัน-เมตร กำลังสูงสุด 120 แรงม้า ที่ 1,500 รอบ/นาที กระบอกสูบกว้าง 115 มิลลิเมตร และช่วงชักยาว 108 มิลลิเมตร
  • 4HV1 เป็นเครื่องยนต์ CNG ปริมาตรความจุ 4.570 ลิตร ใช้ระบบจุดระเบิดแบบไม่สัมผัส กำลังสูงสุด 170 แรงม้า ที่ 3,200 รอบ/นาที กระบอกสูบกว้าง 115 มิลลิเมตร ช่วงชักยาว 110 มิลลิเมตร ใช้ในรถบรรทุก Isuzu NPR300 CNG

5 สูบ[แก้]

เบนซิน[แก้]

6 สูบ[แก้]

เบนซิน[แก้]

เจเนอรัลมอเตอร์[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ V[แก้]

ดีเซล[แก้]

8 สูบ[แก้]

เบนซิน[แก้]

ดีเซล[แก้]

  • 8PA1

12 สูบ[แก้]

เบนซิน[แก้]

รหัสเครื่องยนต์ รายละเอียด ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ปริมาตรความจุ กำลัง แรงบิด
P799WE[17] เครื่องยนต์แข่งรถฟอร์มูลาวันที่ใช้ในรถ Lotus 102B ได้รับการพัฒนาระหว่างปี พ.ศ. 2532 –34 85 มิลลิเมตร 51.3 มิลลิเมตร 3.5 ลิตร (3,500 ซีซี) 649–775 แรงม้า 401–418 นิวตัน-เมตร

ดีเซล[แก้]

รหัสเครื่องยนต์ คำอธิบาย ความกว้างกระบอกสูบ ช่วงชัก ปริมาตรความจุ กำลัง แรงบิด
12PA1 เครื่องยนต์ 12 สูบ ใช้ในรถ Isuzu New Power ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2526 115 มิลิลิเมตร 120 มิลลิเมตร 15 ลิตร (14,957 ซีซี) 350 และ 385 แรงม้า
12PB1 เครื่องยนต์ 12 สูบ ใช้ในรถ Isuzu New Power ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2522 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2526 115 มิลลิเมตร 135 มิลลิเมตร 17 ลิตร (16,827 ซีซี) 350 และ 385 แรงม้า
12PC1 เครื่องยนต์ 12 สูบ ใช้ในรถ Isuzu 810 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526–32 119 มิลลิเมตร 135 มิลลิเมตร 18 ลิตร (18,018 ซีซี) 355 แรงม้า (12PC1-N)
395 แรงม้า (12PC1-S)
12PD1 เครื่องยนต์ 12 สูบ ใช้ในรถ Isuzu 810 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532–37 119 มิลลิเมตร 150 มิลลิเมตร 20 ลิตร (20,020 ซีซี) 365 แรงมเา (12PD1-N)
395 แรงม้า (12PD1-C)
425 แรงม้า (12PD1-S)
12PE1 เครื่องยนต์ 12 สูบ ใช้ในรถ Isuzu Giga ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537–43 127 มิลลิเมตร 150 มิลลิเมตร 23 ลิตร (22,801 ซีซี) 385 แรงม้า

อ้างอิง[แก้]

  1. "Alternative Fuel (a natural progression)" (PDF). Isuzu Engines. สืบค้นเมื่อ 22 April 2022.
  2. "H-Series". Isuzu Engines. สืบค้นเมื่อ 22 April 2022.
  3. 3.0 3.1 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 4-2-1
  4. Industrial Diesel Engines: 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 (Workshop Manual), Isuzu Motors Limited, December 1983, p. 1, 809-06-200K
  5. 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 1-2
  6. 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 1-3
  7. 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 1-4
  8. "Isuzu 3LB1 - Isuzu 3LD1 - Isuzu 3LD2 - 3LB1 - 3LD1 - 3LD2 - Engine model - Engine characteristics - Valvetrain - Overhead valve - 4 Cycle - Water cooled - Vertical In-line - 3 Cylinders - Injection - Output | DET Isuzu". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-06. สืบค้นเมื่อ 2018-02-05.
  9. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-02-08. สืบค้นเมื่อ 2013-02-18.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ SAE850261
  11. Rodeo 4WD: ยอดรถสำหรับยอดดน [Top Car for Top People] (catalog) (ภาษาThai), บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด [Tri Petch Isuzu Sales Ltd.], April 1992, pp. 3–4{{citation}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  12. Pornelos, Vince (2019-11-13). "With Euro4 4JA1 in 2020 Traviz, could Isuzu revive Crosswind?". Autoindustriya.com.
  13. "Isuzu TRAVIZ | Isuzu Philippines". www.isuzuphil.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-15.
  14. Mastrostefano, Raffaele, บ.ก. (1990). Quattroruote: Tutte le Auto del Mondo 1990 (ภาษาItalian). Milano: Editoriale Domus S.p.A. p. 1252.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  15. Automobil Revue 1991, p. 334
  16. Büschi, Hans-Ulrich, บ.ก. (10 March 1994). Automobil Revue 1994 (ภาษาGerman และ French). Vol. 89. Berne, Switzerland: Hallwag AG. p. 316. ISBN 978-3-444-00584-8.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  17. "Isuzu's V12 monster".