ข้ามไปเนื้อหา

ราชอาณาจักรอาหรับซีเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชอาณาจักรอาหรับซีเรีย

المملكة العربية السورية (Arabic)
al-Mamlakah al-‘Arabīyah as-Sūrīyah
1919–1920
ธงชาติราชอาณาจักรอาหรับซีเรีย
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของราชอาณาจักรอาหรับซีเรีย
ตราแผ่นดิน
แผ่นที่ราชอาณาจักรอาหรับซีเรียเมื่อปี 1920
แผ่นที่ราชอาณาจักรอาหรับซีเรียเมื่อปี 1920
เมืองหลวงดามัสกัส
ภาษาทั่วไปอาหรับ
เดมะนิมชาวซีเรีย
การปกครองรัฐเดี่ยว ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
พระมหากษัตริย์ 
• 1920
ฟัยศ็อลที่ 1
นายกรัฐมนตรี 
• 1920 (คนแรก)
ริดา ปาชา อัล-ริกาบี
• 1920 (last)
ฮาชิม อัล-อาตัสซี
สภานิติบัญญัติสภาแห่งชาติ
ยุคประวัติศาสตร์สมัยระหว่างสงคราม
• อังกฤษถอนทัพ
26 พฤศจิกายน 1919
• ฟัยศ็อลที่ 1 เสด็จบรมราชาภิเษก
8 มีนาคม 1920
24 กรกฎาคม 1920
25 กรกฎาคม 1920
สกุลเงินปอนด์ซีเรีย
ก่อนหน้า
ถัดไป
การบริหารในดินแดนศัตรูที่ถูกยึดครอง
รัฐดามัสกัส
รัฐอะเลปโป
เอมิเรตทรานส์จอร์แดน

ราชอาณาจักรอาหรับซีเรีย (อาหรับ: المملكة العربية السورية, al-Mamlakah al-‘Arabīyah as-Sūrīyah) เป็นรัฐที่ประกาศตัวเองและไม่ได้รับการยอมรับ ซึ่งดำรงอยู่เพียงช่วงสั้นๆ ในดินแดนซีเรีย ราชอาณาจักรอาหรับซีเรียประกาศเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ว่าเป็นรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญอาหรับที่เป็นอิสระโดยสมบูรณ์และได้รับเอกราชโดยพฤตินัยในฐานะเอมิเรตหลังจากการถอนกองกำลังของสหราชอาณาจักรออกจากดินแดนโออีตาตะวันออกเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1919 และได้รับการประกาศเป็นราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1920

ราชอาณาจักรแห่งนี้ดำรงอยู่เพียงสี่เดือนตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม ถึง 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1920[2][3] ในช่วงดำรงอยู่ช่วงสั้นๆ ราชอาณาจักรแห่งนี้อยู่ภายใต้การนำของ ฟัยศ็อล บิน ฮุซัยน์ พระราชโอรสของฮุซัยน์ บิน อะลี, แม้จะอ้างสิทธิในดินแดนลิแวนต์ แต่รัฐบาลของพระองค์ก็ควบคุมพื้นที่อันจำกัดและขึ้นอยู่กับอังกฤษ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วฝรั่งเศสก็ต่อต้านแนวคิดเรื่องเกรตเทอร์ซีเรียและปฏิเสธที่จะยอมรับราชอาณาจักรแห่งนี้ [4] และซีเรียได้ยอมจำนนต่อกองทัพฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1920

อ้างอิง[แก้]

  1. "Kingdom of Syria (1920) Patriotic Song "O'Syria who owns the glory"". YouTube. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-19. สืบค้นเมื่อ 2022-04-19.
  2. Kuhn, Anthony John (15 April 2011). "Broken Promises:The French Expulsion of Emir Feisal and the Failed Struggle for Syrian Independence". Carnegie Mellon University/H&SS Senior Honors Thesis: 60. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2020. สืบค้นเมื่อ 21 March 2018.
  3. Antonius, George (1938). The Arab Awakening: The Story of the Arab National Movement (Reprint ed.). H. Hamilton. p. 104. ISBN 1626540861. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-04-02. สืบค้นเมื่อ 2020-06-02.
  4. Itamar Rabinovich, Symposium: The Greater-Syria Plan and the Palestine Problem in The Jerusalem Cathedra (1982), p. 262.