รัฐอันธพาล
หน้าตา
รัฐอันธพาล (อังกฤษ: rogue state) เป็นคำที่ก่อให้เกิดการโต้แย้งที่ใช้โดยนักทฤษฎีระหว่างประเทศบางคน โดยหมายถึงรัฐที่พวกเขาพิจารณาว่าคุกคามต่อสันติภาพของโลก ซึ่งหมายความว่ารัฐเหล่านี้มีพฤติการณ์ตามเกณฑ์บางประการโดยเฉพาะ อย่างเช่น ปกครองโดยรัฐบาลอำนาจนิยมที่จำกัดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง ให้การสนับสนุนการก่อการร้าย และแสวงหาการเผยแพร่อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง[10] คำดังกล่าวถูกใช้บ่อยครั้งที่สุดโดยสหรัฐอเมริกา ถึงแม้ว่าบางครั้งอาจพบถูกใช้ในประเทศอื่นก็ตาม[11]
รัฐอันธพาลแตกต่างจาก "รัฐที่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมนานาชาติ" อย่างเช่น พม่าและซิมบับเว ซึ่งถูกกล่าวหาว่าละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อประชากรของตัวเอง ในขณะที่ยังไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นภัยคุกคามที่เห็นได้ชัดนอกเหนือจากพรมแดนของตน ถึงแม้ว่าคำดังกล่าวจะสามารถใช้เปลี่ยนกันได้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The 4 current Rogue States". World Data. สืบค้นเมื่อ 19 December 2020.
- ↑ "THE WHITE HOUSE'S "TROIKA OF TYRANNY" IS NOW A "WOLF PACK OF ROGUE STATES"".
- ↑ "Clinton Announces New North Korea Sanctions". Morning Edition. NPR.org. July 21, 2010.
- ↑ "Beyond the Axis of Evil: Additional Threats from Weapons of Mass Destruction". The Heritage Foundation. May 6, 2002.
- ↑ "US could destroy North Korea - Trump". BBC News. 2017-09-19. สืบค้นเมื่อ 2017-09-20.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 "Post–cold War Policy – Isolating and punishing 'rogue' states". Encyclopedia of the New American Nation.
- ↑ Ordoñez, Franco (January 30, 2018). "Trump's axis of evil: Cuba, Venezuela, Iran and North Korea". The Sacramento Bee.
- ↑ Hendriksen, Thomas. H (2012). America and the Rogue States. Springer. p. 194. ISBN 9781137006400.
- ↑ Politics: Who are today's rogue nations?, Inter Press Service, May 20, 2001
- ↑ Rogue States?, Arms Control and Dr. A. Q. Khan.
- ↑ Minnerop, Petra. (2002). "Rogue States – State Sponsors of Terrorism?" เก็บถาวร 2007-12-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. German Law Journal, 9.