รัฐหุ่นเชิด
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก รัฐบาลหุ่น)
รัฐบาลหุ่นเชิด (อังกฤษ: Puppet government หรือ Marionette government) หมายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน[1] คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก[2] และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทัพ[3]
รัฐหุ่นเชิดยุคแรก
[แก้]ศตวรรษที่ 19
[แก้]ในช่วงแรกของรัฐหุ่นเชิดจะเป็นแบบรัฐกึ่งหุ่นเชิดกึ่งบริวารของรัฐบริวารสาธารณรัฐของฝรั่งเศส (French client republic) ของ จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง
รัฐหุ่นเชิดในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
[แก้]- สาธารณรัฐประชาชนเบลารุส (1918–1919) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิเยอรมัน ภายหลังเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต
- ราชอาณาจักรโปแลนด์ (1916–1918)
- ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิเยอรมัน
- Duchy of Courland and Semigallia (1918)
- ราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)
รัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น
[แก้]- จักรวรรดิแมนจูกัว (1932–1945)
- เหม่งเจียง
- Dadao government (Shanghai 1937-1940)
- Reformed Government of the Republic of China
- รัฐบาลชั่วคราวสาธารณรัฐจีน (14 ธันวาคม 1937 - 30 มีนาคม 1940)
- Nanjing Nationalist Government (March 30, 1940-1945)
- East Hebei Autonomous Council
- รัฐพม่า (1942-1945)
- สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 2 (1943-1945)
- รัฐบาลชั่วคราวเสรีอินเดีย (1943-1945)
- จักรวรรดิเวียดนาม (มีนาคม–สิงหาคม 1945)
- ราชอาณาจักรกัมพูชา (มีนาคม–สิงหาคม 1945)
- ราชอาณาจักรลาว
รัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี
[แก้]เป็นรัฐที่เป็นของเยอรมนี และ อิตาลี ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงที่เยอรมนีบุกยึกครองยุโรปได้ทั้งหมด
รัฐหุ่นเชิดของเยอรมนีและอิตาลี
[แก้]- แอลเบเนียของอิตาลี (1940-1943) และ แอลเบเนียของนาซีเยอรมนี (1943-1944)
- ฝรั่งเศสเขตวิชี (1942-1944) - รัฐหุ่นเชิดของเยอรมนี
- โมนาโก (1943-1945) - รัฐหุ่นเชิดของอิตาลี
- รัฐเอกราชมอนเตเนโกร (1941-1943 โดยอิตาลี และ 1943-1944 โดยเยอรมนี)
- รัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบีย (1941-1944) - รัฐหุ่นเชิดของเยอรมนี
รัฐหุ่นเชิดหุ่นเชิดร่วมนาซีเยอรมนี–ราชอาณาจักรอิตาลี
[แก้]- รัฐเฮเลนิค (1941–1944)
สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี
[แก้]- สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี (1943-1945)
รัฐพันธมิตรกึ่งหุ่นเชิดกึ่งบริวารของเยอรมนีและอิตาลี
[แก้]รัฐใหม่กึ่งหุ่นเชิดกึ่งบริวารที่ได้รับแรงสนับสนุน
[แก้]- สาธารณรัฐสโลวัก (1939-1945)
- รัฐเอกราชโครเอเชีย (1941-1945)
รัฐหุ่นเชิดของฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
[แก้]รัฐหุ่นเชิดของสหภาพโซเวียต
[แก้]ดินแดนที่โซเวียตบุกยึดครอง (ต่อมาถูกผนวกเข้ากับโซเวียต)
- สาธารณรัฐประชาชนตูวา (1944-1946) มาจาก เตนนู ตูวา (1921–1944)
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยฟินแลนด์ (1939-1940) - เป็นดินแดนที่โซเวียตได้จากการรบชนะฟินแลนด์
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย (1940) - ในเดือนมิถุนายน 1940 สาธารณรัฐเอสโตเนีย ได้ถูกบุกยึดโดยสหภาพโซเวียต และในเดือนกรกฎาคม ได้มีการก่อตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดขึ้น
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย (1940) - ในเดือนมิถุนายน 1940 สาธารณรัฐลัตเวีย ได้ถูกบุกยึดโดยสหภาพโซเวียต และในเดือนกรกฎาคม ได้มีการก่อตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดขึ้น
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย (1940) - ในเดือนมิถุนายน 1940 สาธารณรัฐลิทัวเนีย ได้ถูกบุกยึดโดยสหภาพโซเวียต และในเดือนกรกฎาคม ได้มีการก่อตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดขึ้น
- Second East Turkestan Republic (1944-1949)
- รัฐบาลประชาชนอาเซอร์ไบจาน (1945-1946)
ดินแดนที่โซเวียตบุกยึดครอง (ต่อมากลายเป็นรัฐบริวาร)
รัฐหุ่นเชิดของสหราชอาณาจักร
[แก้]- ราชอาณาจักรอิรัก (1941-1943)
- จักรวรรดิอิหร่าน (1941-1943)
สงครามเย็น
[แก้]- เคอร์ดิสถานอิหร่าน รัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิอิหร่าน
- เวียดนามใต้ รัฐหุ่นเชิดของสหรัฐอเมริกา
- สาธารณรัฐประชาชนฮังการี รัฐหุ่นเชิดของกติกาสัญญาวอร์ซอ (การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956)
- เชโกสโลวาเกีย รัฐหุ่นเชิดของกติกาสัญญาวอร์ซอ (การบุกครองเชโกสโลวาเกียของสนธิสัญญาวอร์ซอ)
- รัฐเผด็จการทหารแห่งกรีซ รัฐหุ่นเชิดของสหรัฐอเมริกา (สงครามกลางเมืองกรีซ)
- ริวกิว รัฐหุ่นเชิดของสหรัฐอเมริกา
หลังสงครามเย็น
[แก้]- สาธารณรัฐคูเวต - รัฐหุ่นเชิดของอิรัก
ปัจจุบัน
[แก้]- ไซปรัสเหนือ - รัฐหุ่นเชิดของตุรกี
- เซาท์ออสเซเตีย - รัฐหุ่นเชิดของรัสเซีย
- อับฮาเซีย - รัฐหุ่นเชิดของรัสเซีย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Constructing the Nation-state. Greenwood Publishing Group. 1995. p. 161. ISBN 0313293988.
The term puppet state is used to describe nominal sovereigns under effective foreign control
- ↑ Shapiro, Stephen (2003). Ultra Hush-hush. Annick Press. p. 38. ISBN 1550377787.
Puppet state: a country whose government is being controlled by the government of another country, much as a puppeteer controls the strings on a marionette
- ↑ Raič, D (2002). Statehood and the Law of Self-determination. Martinus Nijhoff Publishers. p. 81.