รอส อูลบริซท์
รอส วิลเลียม อูลบริซท์ | |
---|---|
เกิด | ออสติน รัฐเท็กซัส สหรัฐ | มีนาคม 27, 1984
สัญชาติ | อเมริกัน |
ชื่ออื่น | Dread Pirate Roberts, Frosty, Altoid |
ศิษย์เก่า | University of Texas at Dallas (B.S. 2006) Pennsylvania State University (M.S. 2009) |
อาชีพ | ผู้ประกอบการค้าตลาดมืด |
ปีปฏิบัติงาน | February 2011 – October 2013 |
มีชื่อเสียงจาก | Owner of Silk Road |
สถานะทางคดี | อยู่ในเรือนจำ |
พิพากษาลงโทษฐาน | การฟอกเงิน การแฮกคอมพิวเตอร์ การสมรู้ร่วมคิดในการประกอบการค้ายาเสพติด (6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015) |
บทลงโทษ | จำคุกตลอดชีวิตโดยไม่มีสิทธิได้รับทัณฑ์บน (29 พฤษภาคม ค.ศ. 2015) |
วันที่ถูกจับ | October 1, 2013 |
จำคุกที่ | United States Penitentiary, Florence High |
รอส วิลเลียม อูลบริซท์ (อังกฤษ: Ross William Ulbricht; เกิด 27 มีนาคม ค.ศ. 1984) เป็นอดีตพ่อค้ายาเสพติดชาวอเมริกันและผู้ประกอบการค้าตลาดมืด เป็นที่รู้จักกันอย่างดีจากการสร้างและดำเนินการในเว็บไซต์ที่ชื่อว่า ซิลค์โรด (Silk Road) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011 จนกระทั่งเขาถูกจับกุมในปี ค.ศ. 2013[2] เขาได้เป็นที่รู้จักกันภายใต้นามแฝงว่า เดรด ไพเรต โรเบิร์ตส์ (Dread Pirate Roberts)
อูลบริซท์ถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหาการฟอกเงิน การแฮกคอมพิวเตอร์ การสมรู้ร่วมคิดในการปลอมแปลงเอกสารข้อมูลประจำตัวและการสมรู้ร่วมคิดในการประกอบการค้ายาเสพติดในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 2015[3] เขาได้ถูกตัดสินโทษด้วยการจำคุกตลอดชีวิตโดยไม่มีสิทธิได้รับทัณฑ์บน[4] ศาลอุทธรณ์ภาคสองแห่งสหรัฐได้ยืนยันคำตัดสินและลงโทษในปี ค.ศ. 2017[5]. ศาลสูงสุดสหรัฐได้ปฏิเสธในการรับฟังคำอุทธรณ์ต่อไปในปี ค.ศ. 2018[6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "FBI Says It's Seized $28.5 Million In Bitcoins From Ross Ulbricht, Alleged Owner Of Silk Road". Forbes.com. 25 October 2013. สืบค้นเมื่อ 25 October 2013.
- ↑ Raymond, Nate (2015-02-04). "Accused Silk Road operator convicted on U.S. drug charges". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-23. สืบค้นเมื่อ 2015-06-22.
- ↑ "Jury Verdict". Docket Alarm. สืบค้นเมื่อ 27 September 2016.
- ↑ "Judgment in a Criminal Case (Sentencing)". Docket Alarm. สืบค้นเมื่อ 27 September 2016.
- ↑ "Silk Road founder loses his appeal, will serve a life sentence for online crimes". Techcrunch.com. สืบค้นเมื่อ 1 June 2017.
- ↑ "Certiorari Denied" (PDF). Supreme Court of the United States. p. 5. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-29. สืบค้นเมื่อ 2018-07-14.