ข้ามไปเนื้อหา

รถไฟใต้ดินไคโร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถไฟใต้ดินไคโร
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อพื้นเมืองمترو أنفاق القاهرة
เจ้าของNational Authority for Tunnels (Egyptian state)[1]
ที่ตั้งเกรตเตอร์ไคโร ประเทศอียิปต์
ประเภทระบบขนส่งมวลชนเร็ว
จำนวนสาย3
จำนวนสถานี74[2]
ผู้โดยสารต่อวัน3.6 ล้าน[3]
ผู้โดยสารต่อปี1.314 พันล้าน (FY2015)[4]
เว็บไซต์Cairo Metro (ในภาษาอังกฤษ)
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน27 กันยายน 1987; 37 ปีก่อน (1987-09-27) [2]
ผู้ดำเนินงานCairo Metro - The Egyptian Co. for Metro Management & Operation[5]
ลักษณะผสม
ใต้ดิน ในระดับพื้นดิน และระดับสูง
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง93.1 กิโลเมตร (57.8 ไมล์)[2]
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in) สแตนดาร์ดเกจ
การจ่ายไฟฟ้าสายที่ 1: เหนือหัว,1.5 kV DC[6]
สายที่ 2: รางที่สาม, 750 V DC[7]
สายที่ 3: เหนือหัว

รถไฟใต้ดินไคโร (อาหรับ: مترو أنفاق القاهرة, อักษรโรมัน: Metro Anfāq al-Qāhirah, หรือ مترو الأنفاق  ออกเสียง [ˈmetɾo lʔænˈfæːʔ]) เป็นระบบขนส่งมวลชนเร็วในเกรตเตอร์ไคโร ประเทศอียิปต์ ถือเป็นระบบรถไฟใต้แห่งอันแรกที่มีรถไฟใต้ดินเต็มระบบสามสายในแอฟริกา และเป็นรถไฟแห่งแรกที่สร้างขึ้นในตะวันออกกลาง[8][9] เปิดตัวใน ค.ศ. 1987 ด้วยสายที่ 1 จากฮิลวานไปยังจัตุรัส Ramsis ด้วยความยาว 29 กิโลเมตร (18.0 ไมล์)[10] ณ ค.ศ. 2013 รถไฟใต้ดินนี้มีผู้โดยสารเกือบ 4 ล้านคนต่อวัน[3] ณ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2022 รถไฟใต้ดินไคโรมี 74 สถานี[2] ในจำนวนนี้เป็นสถานีเปลี่ยนสาย 4 แห่ง ทั้งหมดมีความยาวรวม 93.1 กิโลเมตร (57.8 ไมล์) รถไฟใต้ดินนี้มีสายให้บริหารสามสาย[2] เรียงเป็นเลข 1 ถึง 3[10]

รถไฟใต้ดินไคโรดำเนินการโดย National Authority for Tunnels[10] ใช้รางสแตนดาร์ดเกจ (1,435 mm (4 ft 8 12 in))[2]

โครงข่าย

[แก้]
สาย สถานีปลายทาง เปิดให้บริการ ส่วนต่อขยายล่าสุด ระยะทาง สถานี
 1  Helwan – El Marg[11] 1987 1999 44.3 กิโลเมตร[10] 35[11][12]
 2  Shobra El Kheima – El Mounib[11] 1996 2005 21.6 กิโลเมตร[13][14] 20[11][12]
 3  Kit Kat – Adly Mansour[15] 2012 2022 19.5 กิโลเมตร[16]แม่แบบ:Fv 23[16]แม่แบบ:Fv
รวม: 85.4 กิโลเมตร[16]แม่แบบ:Fv 74[11][Note 1]แม่แบบ:Fv

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. สถานีเปลี่ยนเส้นทางนับเพียงครั้งเดียว

อ้างอิง

[แก้]
  1. "TWINNING PROJECT FICHE - Assistance to the Egyptian Metro Company (ECM) in Reforming Railway Safety Regulations, Procedures and Practices" (PDF). สืบค้นเมื่อ 4 August 2014.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Cairo". metrobits.org. 28 August 2020. สืบค้นเมื่อ 30 March 2021.
  3. 3.0 3.1 Sood, Suemedha (15 March 2013). "Subway systems by the numbers". BBC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-28. สืบค้นเมื่อ 2014-07-28.
  4. See:
  5. "About Company". Cairo Metro. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2014. สืบค้นเมื่อ 2014-07-31.
  6. Barrow, Keith (14 March 2014). "Cairo to order new trains for metro Line 1". International Railway Journal. Simmons-Boardman Publishing Inc. สืบค้นเมื่อ 23 January 2015.
  7. Banerjee, M.K.; El Hoda, N. (October 1998). "Review of the automatic train control system for Cairo Metro line 2". Power Engineering Journal. IET. 12 (5): 217–228. doi:10.1049/pe:19980506. ISSN 0950-3366.
  8. "Cairo Metro, Egypt". Railway-Technology.com. Kable. สืบค้นเมื่อ 2014-06-26.
  9. "Cairo". UrbanRail.Net. สืบค้นเมื่อ 2014-06-26.
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 "First Line Working". Cairo Metro, Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 May 2015. สืบค้นเมื่อ 2014-06-27.
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 "Metro lines". Cairo Metro, Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2014. สืบค้นเมื่อ 2014-06-27.
  12. 12.0 12.1 "FAQ". Cairo Metro, Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2014. สืบค้นเมื่อ 2014-06-27.
  13. "Line 2". National Authority for Tunnels. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-22. สืบค้นเมื่อ 2014-06-28.
  14. El-Nahhas, Fathalla M. (2006). "Tunnelling and Supported Deep Excavations in the Greater Cairo" (pdf). Int. Symposium on Utilization of Underground Space in Urban Areas: 5. สืบค้นเมื่อ 2014-06-28.
  15. "StackPath".
  16. 16.0 16.1 16.2 "Line 3". railway-news. 19 August 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-08-24.
อ้างอิงอื่น

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]