ข้ามไปเนื้อหา

ยูเรนัส (เทพปกรณัม)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูเรนัส
เทพเจ้าแห่งท้องฟ้าและสวรรค์
เทพยูเรนัสที่ปรากฏบนหินสลักโบราณ เกี่ยวกับกิกันโตมาชี่ แท่นบูชาเปร์กาโมน, พิพิธภัณฑ์เปร์กาโมน
ที่ประทับท้องฟ้า
ข้อมูลส่วนบุคคล
คู่ครองไกอา
บุตร - ธิดาไททัน, ไซคลอปส์, เฮคาตันเชเรส, เอรินเยส (ฟิวรี่ส์), ยักษ์, เมเลีย, and อาโฟร์ไดท์[1]
บิดา-มารดาไกอา (เฮสิโอด)
พี่น้องพอนตัส และ อูเรีย (เฮสิโอด)
เทพที่เทียบเท่าในความเชื่ออื่น
เทียบเท่าในโรมันเคเอลัส
เทียบเท่าในเมโสโปเตเมียอัน[2]
ยูเรนัส

ยูเรนัส (อังกฤษ: Uranus) หรือ อูรานอส (กรีกโบราณ: Οὐρανός) เป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้าและเป็นหนึ่งในเทพเจ้าดั้งเดิมของกรีก ตามตำนานของเฮสิโอด ทรงเป็นทั้งบุตรและสวามีของพระแม่ไกอา (เทพีแห่งพื้นดิน) ท่านทั้งสองสมหวังกันด้วยอีรอส (คิวปิด) เทพเจ้าแห่งความรัก ที่ทั้งคู่รักกันด้วยเหตุผลคือ พื้นดินนั้นมองท้องฟ้าทุกวัน จนเทพอีรอสทนไม่ไหวจึงแผลงศรให้ทั้งคู่รักกัน มีบุตรด้วยกันคือ เหล่ายักษ์ ปีศาจผู้อัปลักษณ์ ทำให้ยูเรนัสไม่พอใจอย่างมาก จึงจับไปขังที่นรกที่ลึกที่สุดคือ นรกทาร์ทารัส เกิดความเคียดแค้นใจกับไกอาอย่างยิ่ง บุตรกลุ่มต่อมาคือ ไททัน ซึ่งมีรูปลักษณ์ดูดี ทำให้ท่านไม่พอใจ ยิ่งเกิดความเคียดแค้นต่อไกอาเป็นเท่าทวีคูณ นางจึงขอร้องให้ลูก ๆ เหล่าไททันสังหารยูเรนัส โครนัสหนึ่งในเหล่าไททันตอบตกลงที่จะช่วย ต่อมายูเรนัสจึงโดนโค่นล้มโดยโครนัส ลูกชายตนเอง อย่างไรก็ตาม ไม่มีการบูชาเฉพาะยูเรนัสที่สืบทอดมาจนถึงสมัยคลาสสิก[3] และยูเรนัสไม่ได้ปรากฏในภาพวาดบนเครื่องปั้นดินเผาของกรีกทั่วไป อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบของโลก ท้องฟ้า และสติกซ์ อาจถูกนำมาร่วมกันในการสวดมนต์อันศักดิ์สิทธิ์ในบทกวีของโฮเมอร์[4] ยูเรนัสมีความเกี่ยวข้องกับเทพเจ้าคาเอลุสของโรมัน[5][6][7][8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. According to Hesiod, Theogony 183–200, Aphrodite was born from Uranus' severed genitals, but according to Homer, Aphrodite was the daughter of Zeus (Iliad 3.374, 20.105; Odyssey 8.308, 320) and Dione (Iliad 5.370–71), see Gantz, pp. 99–100.
  2. Hard, p. 34.
  3. "We did not regard them as being in any way worthy of worship," Karl Kerenyi, speaking for the ancient Greeks, said of the Titans (Kerenyi, p. 20); "with the single exception, perhaps, of Cronos; and with the exception, also, of Helios."
  4. As at Homer, Iliad 15.36 ff., Odyssey 5.184 ff.
  5. Grimal, s.v. "Caelus" p. 38.
  6. Varro, De lingua Latina 5.58.
  7. Marion Lawrence, "The Velletri Sarcophagus", American Journal of Archaeology 69.3 (1965), p. 220.
  8. Floro, Epitome 1.40 (3.5.30): "The Jews tried to defend Jerusalem; but he [Pompeius Magnus] entered this city also and saw that grand Holy of Holies of an impious people exposed, Caelum under a golden vine" (Hierosolymam defendere temptavere Iudaei; verum haec quoque et intravit et vidit illud grande inpiae gentis arcanum patens, sub aurea vite Caelum). Finbarr Barry Flood, The Great Mosque of Damascus: Studies on the Makings of an Umayyad Visual Culture (Brill, 2001), pp. 81 and 83 (note 118). El Oxford Latin Dictionary (Oxford: Clarendon Press, 1982, 1985 reprinting), p. 252, entry on caelum, cita a Juvenal, Petronio, and Floro como ejemplos de Caelus o Caelum "with reference to Jehovah; also, to some symbolization of Jehovah."