มิเกล โรดริโก
หน้าตา
ข้อมูลส่วนตัว | |||
---|---|---|---|
ชื่อเต็ม | มิเกล โรดริโก กองเด ซาลาซาร์ | ||
วันเกิด | 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1970 | ||
สถานที่เกิด | บาเลนเซีย ประเทศสเปน | ||
ส่วนสูง | 1.75 ม. | ||
ตำแหน่ง | ผู้จัดการ (ฟุตบอล) | ||
ข้อมูลสโมสร | |||
สโมสรปัจจุบัน | ไทย (ผู้จัดการ) | ||
สโมสรอาชีพ* | |||
ปี | ทีม | ลงเล่น | (ประตู) |
ค.ศ. 1986–1991 | บังโกเดกรานาดา | ||
ค.ศ. 1991–1992 | อัลมูเนการ์เปเรซกัสเกต | ||
จัดการทีม | |||
ค.ศ. 1992–1998 | บังโกเดกรานาดา | ||
ค.ศ. 1998–1999 | นาซาเรโนเดเซบิยา | ||
ค.ศ. 1999–2000 | ฆาเอนปาราอิโซอินเตริโอ | ||
ค.ศ. 2000–2003 | เปตราร์กาปาโดวา | ||
ค.ศ. 2003–2004 | ดีนาโมมอสโก | ||
ค.ศ. 2004 | ลูปาเรนเซ | ||
ค.ศ. 2004–2009 | กาฆาเซโกเบีย | ||
ค.ศ. 2009–2016 | ญี่ปุ่น | ||
ค.ศ. 2016–2017 | ไทย | ||
ค.ศ. 2017–2019 | เวียดนาม | ||
ค.ศ. 2024– | ไทย | ||
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น |
มิเกล โรดริโก (สเปน: Miguel Rodrigo; 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1970 – ) เป็นผู้ฝึกฟุตซอลระดับอาชีพชาวสเปน ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้จัดการฟุตซอลทีมชาติไทย
โดยมิเกล โรดริโก ประสบความสำเร็จระหว่าง ค.ศ. 2009 ถึง 2016 ร่วมกับทีมชาติญี่ปุ่นคว้าแชมป์ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียได้สองสมัยภายใต้การนำของเขา เนื่องจากความรู้ความสามารถด้านกลยุทธ์และการก่อรูปขบวน สปอร์ตสนิปปงสื่อกีฬายักษ์ใหญ่ของญี่ปุ่น จึงขนานนามโรดริโกว่า เดอะมาจิเชียน (ญี่ปุ่น: 魔法使い, อักษรโรมัน: Mahoutsukai, แปลตรงตัว 'จอมเวท')[1]
สถิติการบริหารจัดการ
[แก้]- ณ วันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 2024
ประเทศ | ทีม | ตั้งแต่ | ถึง | บันทึก | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ก | ช | ส | พ | % ชนะ | |||||||
ญี่ปุ่น | มิถุนายน ค.ศ. 2009 | 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 | 92 | 46 | 13 | 33 | 50.00 | ||||
ไทย | 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 | 30 พฤษภาคม ค.ศ. 2017 | 13 | 8 | 2 | 3 | 61.54 | ||||
ไทย อายุไม่เกิน 20 ปี | 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017 | 30 พฤษภาคม ค.ศ. 2017 | 9 | 7 | 0 | 2 | 77.78 | ||||
เวียดนาม | 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2017 | 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 | 17 | 9 | 3 | 5 | 52.94 | ||||
ไทย | 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 | ปัจจุบัน | 11 | 8 | 1 | 2 | 72.73 | ||||
ทั้งหมด | 142 | 78 | 19 | 45 | 54.93 |
1 เฉพาะเกมอย่างเป็นทางการกับทีมชาติอื่น ๆ
2 การชนะหรือแพ้ด้วยการยิงจุดโทษถือเป็นการเสมอกันภายในเวลาที่กำหนด
เกียรติประวัติ
[แก้]ผู้จัดการ
[แก้]- ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย: ชนะเลิศ (2) : 2012, 2014
- ฟุตซอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน: ชนะเลิศ (1) : 2016
- ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย: รองชนะเลิศ: 2024
- ฟุตซอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน: อันดับที่ 3: 2019
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ロドリゴ監督続投へ カズを招集してブーム演出評価 スポニチ 2011年11月8日