ข้ามไปเนื้อหา

มัสยิดขาว (อัรร็อมละฮ์)

พิกัด: 31°55′39.21″N 34°51′57.67″E / 31.9275583°N 34.8660194°E / 31.9275583; 34.8660194
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มัสยิดขาว
المسجد الأبيض
המסגד הלבן
หออะซานของมัสยิดขาวใน ค.ศ. 2006
ศาสนา
ศาสนาอิสลาม
ที่ตั้ง
ที่ตั้งอัรร็อมละฮ์ อำเภอกลาง
ประเทศ อิสราเอล
มัสยิดขาว (อัรร็อมละฮ์)ตั้งอยู่ในประเทศอิสราเอล
มัสยิดขาว (อัรร็อมละฮ์)
ที่ตั้งของมัสยิดขาวในประเทศอิสราเอล
พิกัดภูมิศาสตร์31°55′39.21″N 34°51′57.67″E / 31.9275583°N 34.8660194°E / 31.9275583; 34.8660194
สถาปัตยกรรม
สถาปนิกอุมัร อิบน์ อับดุลอะซีซ
ประเภทอิสลาม
รูปแบบอุมัยยะฮ์, มัมลูก
เสร็จสมบูรณ์ค.ศ. 717 (ปิดล้อม); สร้างใหม่ใน ค.ศ. 1047; ระยะที่สอง ค.ศ. 1190; ระยะที่สาม ค.ศ. 1268 (หออะซาน); สร้างใหม่ ค.ศ. 1318 ถึง 1408[1][2]
ลักษณะจำเพาะ
โดม1
หอคอย1
ความสูงหอคอย27 เมตร (89 ฟุต)

มัสยิดขาว (อาหรับ: المسجد الأبيض, อักษรโรมัน: al-Masjid al-Abyad; ฮีบรู: המסגד הלבן, อักษรโรมัน: HaMisgad HaLavan) เป็นมัสยิดสมัยอุมัยยะฮ์ในอัรร็อมละฮ์ ประเทศอิสราเอล ซึ่งปัจจุบันเหลือเพียงหออะซาน ธรรมเนียมอิสลามท้องถิ่นระบุว่า บริเวรตะวันตกเฉียงเหนือของมัสยิดมีมะกอมของนบีศอเลียะห์อยู่[3]

หออะซานนี้ยังมีอีกชื่อว่า หอผู้พลีชีพทั้งสี่สิบ[4][5] ตามธรรมเนียมอิสลามที่สืบต้นตอถึง ค.ศ. 1467 อ้างว่ามีผู้ติดตามของศาสดามุฮัมมัด 40 คนถูกฝังในมัสยิดนี้ เรื่องราวนี้ส่งอิทธิพลแบบผิด ๆ[2]เข้าไปในธรรมเนียมคริสเตียนตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ว่ามัสยิดขาวเคยเป็นโบสถ์ที่อุทิศแด่ผู้พลีชีพทั้งสี่สิบแห่งเซบัสเต[6][7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Haifa University เก็บถาวร 2016-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Excavation in Marcus Street Ramla; Reports and studies of the recanati Institute for maritime studies Excavations, Haifa 2007
  2. 2.0 2.1 Pringle, 1993, pp. p.182-185
  3. Al-Abyad Mosque Archnet Digital Library. เก็บถาวร 2013-09-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. Alphonse Marie L. de Prat de Lamartine (1835). A Pilgrimage to the Holy Land. A. Waldie. p. 166.
  5. François-René vicomte de Chateaubriand (1814). Travels in Greece, Palestine, Egypt, and Barbary, During the Years 1806 and 1807. Van Winkle and Wiley. pp. 242.
  6. George Robinson (1837). Travels in Palestine and Syria: In Two Volumes. Palestine. Colburn. p. 30.
  7. Katia Cytryn-Silverman (2010). "The Mamluk Minarets of Ramla". Bulletin du Centre de recherche français à Jérusalem. 21.

บรรณานุกรม

[แก้]

อ่านเพิ่ม

[แก้]