ข้ามไปเนื้อหา

ภาษามองเกอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษามองเกอร์
moŋɡuer
ประเทศที่มีการพูดChina
ภูมิภาคชิงไห่, กานซู
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (152,000 คน อ้างถึง1999)
ตระกูลภาษา
กลุ่มภาษามองโกล
  • Shirongolic
    • ภาษามองเกอร์
รหัสภาษา
ISO 639-3mjg

ภาษามองเกอร์ (Monguor language; ภาษาจีน: 土族语; พินยิน: Tǔzúyǔ;) เป็นกลุ่มภาษามองโกล มีหลายสำเนียง พูดโดยชาวมองเกอร์ มีระบบการเขียนที่พัฒนามาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 แต่ปัจจุบันใช้น้อย ภาษานี้แบ่งได้เป็นสองภาษาคือภาษามองคุล (Mongghul) ในเขตปกครองตนเองฮูซูและตู (Huzhu Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาทิเบต และภาษามังเคอร์ (Mangghuer) ในเขตปกครองตนเองมิเญ ฮุยและตู (Minhe Hui and Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาจีน

ตัวเลข

[แก้]
ไทย ภาษามองโกเลีย ภาษามองเกอร์
1 หนึ่ง Nigen Nige
2 สอง Qoyar Ghoori
3 สาม Ghurban Ghuran
4 สี่ Dörben Deeran
5 ห้า Tabun Tawun
6 หก Jirghughan Jirighun
7 เจ็ด Dologhan Duluun
8 แปด Naiman Niiman
9 เก้า Yisün Shdzin
10 สิบ Arban Haran

อ้างอิง

[แก้]
  • Dpal-ldan-bkra-shis, Keith Slater, et al. (1996): Language Materials of China’s Monguor Minority: Huzhu Mongghul and Minhe Mangghuer. Sino-Platonic papers no. 69.
  • Georg, Stefan (2003): Mongghul. In: Janhunen, Juha (ed.) (2003): The Mongolic languages. London: Routledge: 286-306.
  • Slater, Keith W. (2003): A grammar of Mangghuer: A Mongolic language of China's Qinghai-Gansu sprachbund. London/New York: RoutledgeCurzon.
  • Svantesson, Jan-Olof, Anna Tsendina, Anastasia Karlsson, Vivan Franzén (2005): The Phonology of Mongolian. New York: Oxford University Press.
  • Zhàonàsītú 照那斯图 (1981): Tǔzúyǔ jiǎnzhì 土族语简志 (Introduction to the Tu language). Běijīng 北京: Mínzú chūbǎnshè 民族出版社.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]