ข้ามไปเนื้อหา

ภาษางายู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษางายู
ประเทศที่มีการพูดอินโดนีเซีย
ภูมิภาคกาลีมันตัน
ชาติพันธุ์ชาวงายู
จำนวนผู้พูด890,000 คน  (2546)[1]
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-3nij
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษางายู (Ngaju language) หรือ ภาษางายา เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียที่มีผู้พูดในบริเวณแม่น้ำกาปวซ, กาฮายัน, กาตีงัน และเมินตายาในจังหวัดกาลีมันตันกลาง ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้ชืดกับภาษาบากุมไป ภาษานี้มี 3 ภาษาย่อย—ปูโลเปตัก (Pulopetak), บาอามัง (Ba'amang) และมันตาไง (Mantangai)[2]

สัทวิทยา

[แก้]

พยัญชนะ

[แก้]

พยัญชนะในภาษางายูมีดังต่อไปนี้

เสียงพยัญชนะงายู[3]
ริมฝีปาก โพรงปาก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
นาสิก m n ɲ ŋ
หยุด p b t d c ɟ k g
เสียดแทรก s h
เปิด
(ข้างลิ้น)
j w
l
รัว r

สระ

[แก้]

สระในภาษางายูมีดังต่อไปนี้ ทุกตัวยกเว้น ə เป็นเสียงยาวได้[3]

เสียงสระงายู[3]
หน้า กลาง หลัง
ปากห่อ
สูง i u
กลาง e ə o
ต่ำ a

คำศัพท์

[แก้]

การเปรียบเทียบคำศัพท์ระหว่างภาษาบากุมไป ภาษางายู ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาไทย

ภาษาบากุมไป ภาษางายู ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาไทย
Jida Dia Tidak ไม่
Beken Beken Bukan ไม่
Pai Pai Kaki เท้า/ขา
Kueh Kueh Mana อันไหน/ที่ไหน
Si-kueh Bara-kueh Dari mana จากไหน
Hituh Hetuh Sini นี่
Si-hituh Intu-hetuh Di sini ที่นี่
Bara Bara Dari จาก
Kejaw Kejaw Jauh ไกล
Tukep/Parak Tukep Dekat ใกล้
Kuman Kuman Makan กิน
Mihup Mihop Minum ดื่ม
Lebu Lewu Kampung หมู่บ้าน
Batatapas Bapukan Mencuci pakaian ซักเสื้อ

อ้างอิง

[แก้]
  1. ภาษางายู ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. Gordon, Raymond G. Jr. (2005). Ethnologue: Languages of the World (15th ed.). Dallas: Summer Institute of Linguistics.
  3. 3.0 3.1 3.2 Mihing & Stokhof (1977)

ข้อมูล

[แก้]
  • Ashn E. Johannes (1971). An Introduction to Dayak Ngaju Morphology (วิทยานิพนธ์ MA). Malang.
  • Mihing, T. W. J.; Stokhof, W. A. L. (1977). "On the Ngaju Dayak sound system (Pulau Petak dialect)" (PDF). ใน Soepomo Poedjosoedarmo (บ.ก.). Miscellaneous Studies in Indonesian and Languages in Indonesia, Part III. NUSA 4. Jakarta: Universitas Katolik Indonesia Atma Jaya. pp. 49–59.