ภาษาคาราไช-บัลคาร์
หน้าตา
ภาษาคาราไช-บัลคาร์ | |
---|---|
къарачай-малкъар тил таулу тил | |
ประเทศที่มีการพูด | คอเคซัสเหนือ |
ภูมิภาค | สาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรีย, สาธารณรัฐคาราชาเยโว-ซีร์คัสเซีย, ประเทศตุรกี |
ชาติพันธุ์ | ชาวคาราชาเยโว, ชาวบัลคาเรีย |
จำนวนผู้พูด | 310,000 ในประเทศรัสเซีย (2010 census)[1] |
ตระกูลภาษา | เตอร์กิก
|
ภาษาถิ่น | คาราไช
บัลคาร์
|
ระบบการเขียน | อักษรซีริลลิก อักษรละตินในชุมชนพลัดถิ่น |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | สาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรีย (รัสเซีย) สาธารณรัฐคาราชาเยโว-ซีร์คัสเซีย (รัสเซีย) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | krc |
ISO 639-3 | krc |
ภาษาคาราไช-บัลคาร์ (คาราไช-บัลคาร์: Къарачай-Малкъар тил, Qaraçay-Malqar til) หรือ ภาษาเตอร์กิกภูเขา[2][3] (Таулу тил, Tawlu til) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดโดยชาวคาราไชและชาวบัลคาร์ มีภาษาถิ่นสองแบบคือสำเนียงคาราไชและสำเนียงบัลคาร์ ซึ่งมีหน่วยเสียงพยัญชนะบางตัวต่างกัน เช่น เสียง /t͡ʃ/ และ /ʒ/ ของสำเนียงคาราไช เป็นเสียง /t͡s/ และ /z/ ในสำเนียงบัลคาร์
ระบบการเขียน
[แก้]อักษรที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่
А а /a/ |
Б б /b/ |
В в /v/ |
Г г /g/ |
Гъ гъ |
Д д /d/ |
Дж дж /dʒ/ |
Е е /je/ |
Ё ё /ø, jo/ |
Ж ж** /ʒ/ |
З з /z/ |
И и /i/ |
Й й /j/ |
К к /k/ |
Къ къ /q/ |
Л л /l/ |
М м /m/ |
Н н /n/ |
Нг нг /ŋ/ |
О о /o/ |
П п /p/ |
Р р /r/ |
С с /s/ |
Т т /t/ |
У у /u, w/ |
Ф ф* /f/ |
Х х /x/ |
Ц ц /ts/ |
Ч ч /tʃ/ |
Ш ш /ʃ/ |
Щ щ | |
ъ |
Ы ы /ɯ/ |
ь |
Э э /e/ |
Ю ю /y, ju/ |
Я я /ja/ |
- * ไม่พบในศัพท์ที่ไม่ใช่คำยืม
อักษรละตินมีดังนี้:
A a | B в | C c | Ç ç | D d | E e | F f | G g |
Ƣ ƣ | I i | J j | K k | Q q | L l | M m | N n |
Ꞑ ꞑ | O o | Ө ө | P p | R r | S s | Ş ş | T t |
Ь ь | U u | V v | Y y | X x | Z z | Ƶ ƶ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Row 102 in Приложение 6: Население Российской Федерации по владению языками [Appendix 6: Population of the Russian Federation by languages used] (ภาษารัสเซีย). Федеральная служба государственной статистики (Federal State Statistics Service). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (XLS)เมื่อ 2021-10-06. สืบค้นเมื่อ 2022-12-06.
- ↑ Rudolf Loewenthal (2011). The Turkic Languages and Literatures of Central Asia: A Bibliography. p. 83.
- ↑ Языки мира: Тюркские языки (ภาษารัสเซีย). Vol. 2. Институт языкознания (Российская академия наук). 1997. p. 526.
บรรณานุกรม
[แก้]- Chodiyor Doniyorov and Saodat Doniyorova. Parlons Karatchay-Balkar. Paris: Harmattan, 2005. ISBN 2-7475-9577-3.
- Steve Seegmiller (1996) Karachay (LINCOM)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาคาราไช-บัลคาร์
วิกิท่องเที่ยว มีคำแนะนำการท่องเที่ยวสำหรับ Karachay-Balkar phrasebook