ฟุตบอลโลกหญิง 2023 รอบคัดเลือก
หน้าตา
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
วันที่ | 16 กันยายน ค.ศ. 2021 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 |
ทีม | 172 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 498 |
จำนวนประตู | 2124 (4.27 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | เทสซ่า วูแลร์ต (17 ประตู) |
การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2023 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันเพื่อคัดเลือกทีมชาติ 30 จาก 32 ทีมเพื่อเข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2023 กับเจ้าภาพร่วม ประเทศออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ ซึ่งได้ผ้านคัดเลือกโดยอัตโนมัติ.[1]
ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
[แก้]ทีม | เข้ารอบในฐานะ | วันที่ผ่านเข้ารอบ | เข้ารอบสุดท้าย เป็นครั้งที่ |
เข้ารอบ ครั้งล่าสุด |
เข้ารอบสุดท้าย ติดต่อกันเป็นครั้งที่ |
ผลงานดีที่สุดที่ผ่านมา |
---|---|---|---|---|---|---|
ออสเตรเลีย | เจ้าภาพร่วม | 25 มิถุนายน 2020 | 8 | 2019 | 8 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (2007, 2011, 2015) |
นิวซีแลนด์ | เจ้าภาพร่วม | 25 มิถุนายน 2020 | 6 | 2019 | 5 | รอบแบ่งกลุ่ม (1991, 2007, 2011, 2015, 2019) |
ญี่ปุ่น | เข้ารอบรองชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 | 30 มกราคม 2022 | 9 | 2019 | 9 | ชนะเลิศ (2011) |
เกาหลีใต้ | รองชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 | 30 มกราคม 2022 | 4 | 2019 | 3 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2015) |
จีน | ชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 | 30 มกราคม 2022 | 8 | 2019 | 3 | รองชนะเลิศ (1999) |
ฟิลิปปินส์ | เข้ารอบรองชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 | 30 มกราคม 2022 | 1 | — | 1 | ครั้งแรก |
เวียดนาม | ชนะเลิศเพลย์ออฟ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 | 6 กุมภาพันธ์ 2022 | 1 | — | 1 | ครั้งแรก |
สวีเดน | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม เอ | 12 เมษายน 2022 | 9 | 2019 | 9 | รองชนะเลิศ (2003) |
สเปน | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม บี | 12 เมษายน 2022 | 3 | 2019 | 3 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2019) |
ฝรั่งเศส | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม ไอ | 12 เมษายน 2022 | 5 | 2019 | 4 | อันดับที่ 4 (2011) |
เดนมาร์ก | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม อี | 2 พฤษภาคม 2022[a] | 5 | 2007 | 1 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (1991, 1995) |
สหรัฐอเมริกา | ชนะเลิศ คอนคาแคฟวีเมนส์แชมเปียนชิป 2022 | 7 กรกฎาคม 2022 | 9 | 2019 | 9 | ชนะเลิศ (1991, 1999, 2015, 2019) |
แคนาดา | รองชนะเลิศ คอนคาแคฟวีเมนส์แชมเปียนชิป 2022 | 8 กรกฎาคม 2022 | 8 | 2019 | 8 | อันดับที่ 4 (2003) |
คอสตาริกา | อันดับที่สี่ คอนคาแคฟวีเมนส์แชมเปียนชิป 2022 | 8 กรกฎาคม 2022 | 2 | 2015 | 1 | รอบแบ่งกลุ่ม (2015) |
จาเมกา | อันดับที่สาม คอนคาแคฟวีเมนส์แชมเปียนชิป 2022 | 11 กรกฎาคม 2022 | 2 | 2019 | 2 | รอบแบ่งกลุ่ม (2019) |
แซมเบีย | อันดับที่สาม แอฟริกาวีเมนส์คัพออฟเนชันส์ 2022 | 13 กรกฎาคม 2022 | 1 | — | 1 | ครั้งแรก |
โมร็อกโก | รองชนะเลิศ แอฟริกาวีเมนส์คัพออฟเนชันส์ 2022 | 13 กรกฎาคม 2022 | 1 | — | 1 | ครั้งแรก |
ไนจีเรีย | อันดับที่สี่ แอฟริกาวีเมนส์คัพออฟเนชันส์ 2022 | 14 กรกฎาคม 2022 | 9 | 2019 | 9 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (1999) |
แอฟริกาใต้ | ชนะเลิศ แอฟริกาวีเมนส์คัพออฟเนชันส์ 2022 | 14 กรกฎาคม 2022 | 2 | 2019 | 2 | รอบแบ่งกลุ่ม (2019) |
โคลอมเบีย | รองชนะเลิศ โกปาอาเมริกาเฟเมนินา 2022 | 25 กรกฎาคม 2022 | 3 | 2015 | 1 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2015) |
บราซิล | ชนะเลิศ โกปาอาเมริกาเฟเมนินา 2022 | 26 กรกฎาคม 2022 | 9 | 2019 | 9 | รองชนะเลิศ (2007) |
อาร์เจนตินา | อันดับที่สาม โกปาอาเมริกาเฟเมนินา 2022 | 29 กรกฎาคม 2022 | 4 | 2019 | 2 | รอบแบ่งกลุ่ม (2003, 2007, 2019) |
นอร์เวย์ | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม เอฟ | 2 กันยายน 2022 | 9 | 2019 | 9 | ชนะเลิศ (1995) |
เยอรมนี | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม เอช | 3 กันยายน 2022 | 9 | 2019 | 9 | ชนะเลิศ (2003, 2007) |
อังกฤษ | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม ดี | 3 กันยายน 2022 | 6 | 2019 | 5 | อันดับที่ 3 (2015) |
อิตาลี | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม จี | 6 กันยายน 2022 | 4 | 2019 | 2 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (1991, 2019) |
เนเธอร์แลนด์ | ชนะเลิศ รอบคัดเลือกโซนยุโรป กลุ่ม ซี | 6 กันยายน 2022 | 3 | 2019 | 3 | รองชนะเลิศ (2019) |
สวิตเซอร์แลนด์ | ชนะเลิศที่ดีที่สุด เพลย์ออฟโซนยุโรป | 11 ตุลาคม 2022 | 2 | 2015 | 1 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2015) |
ไอร์แลนด์ | ชนะเลิศที่ดีที่สุดอันดับที่ 2 เพลย์ออฟโซนยุโรป | 11 ตุลาคม 2022 | 1 | — | 1 | ครั้งแรก |
- ↑ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 2022, ยูฟ่าประกาศถอดรัสเซียออกจากรอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิงเนื่องจากประเทศของพวกเขา การรุกรานของยูเครน, โดยผลลัพธ์ก่อนหน้านี้ทั้งหมดถือเป็นโมฆะ.[2] ดังนั้นเดนมาร์กจึงผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกหญิงโดยไม่มีทีมอื่นสามารถแซงหน้าพวกเขาได้.
กระบวนการคัดเลือก
[แก้]การแข่งขันรอบคัดเลือกเริ่มต้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 2021 และจะสิ้นสุดในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023.
ทวีป | สมาพันธ์ | การแข่งขัน | จำนวนทีมที่เข้าร่วม | จำนวนทีมที่มีสิทธิ์เข้ารอบสุดท้าย | วันเริ่มการแข่งขัน | วันสิ้นสุดการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|---|
เอเชีย | เอเอฟซี | ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2022 | 27+เจ้าภาพ [a] | 5+1 | 17 กันยายน 2021 | 6 กุมภาพันธ์ 2023 |
แอฟริกา | ซีเอเอฟ | แอฟริกาวีเมนคัพออฟเนชันส์ 2022 | 43 | 4 | 18 ตุลาคม 2021 | 32 กรกฎาคม 2022 |
อเมริกาเหนือ | คอนคาแคฟ | คอนคาแคฟวีเมนส์แชมเปียนชิป 2022 | 32 | 4 | 16 กุมภาพันธ์ 2022 | 18 กรกฎาคม 2022 |
อเมริกาใต้ | คอนเมบอล | โกปาอาเมริกาเฟเมนินา 2022 | 10 | 3 | 8 กรกฎาคม 2022 | 30 กรกฎาคม 2022 |
โอเชียเนีย | โอเอฟซี | โอเอฟซีวีเมนส์เนชันส์คัพ 2018 | 9 | 0+1 | 13 กรกฎาคม 2022 | 30 กรกฎาคม 2022 |
ยุโรป | ยูฟ่า | ฟุตบอลโลกหญิง 2019 รอบคัดเลือก โซนยุโรป | 51 | 11 | 16 กันยายน 2021 | 11 ตุลาคม 2022 |
เพลย์ออฟ | - | เพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์ | (10) | (0) | 18 กุมภาพันธ์ 2023 | 23 กุมภาพันธ์ 2023 |
รวม | - | ฟุตบอลโลกหญิง 2023 รอบคัดเลือก | 172+เจ้าภาพ | 27+เจ้าภาพ | 16 กันยายน 2021 | 23 กุมภาพันธ์ 2023 |
- ↑ ออสเตรเลียเข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ แต่ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง ในฐานะเจ้าภาพร่วม.
รอบคัดเลือกในแต่ละทวีป
[แก้]เอเอฟซี (เอเชีย)
[แก้]รอบแพ้คัดออก
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
30 มกราคม – ดีวาย ปาฏีล | ||||||||||
จีน | 3 | |||||||||
3 กุมภาพันธ์ – ศรีศิวฉัตรปตี | ||||||||||
เวียดนาม | 1 | |||||||||
จีน (ลูกโทษ) | 2 (4) | |||||||||
30 มกราคม – ดีวาย ปาฏีล | ||||||||||
ญี่ปุ่น | 2 (3) | |||||||||
ญี่ปุ่น | 7 | |||||||||
6 กุมภาพันธ์ – ดีวาย ปาฏีล | ||||||||||
ไทย | 0 | |||||||||
จีน | 3 | |||||||||
30 มกราคม – ศรีศิวฉัตรปตี | ||||||||||
เกาหลีใต้ | 2 | |||||||||
ออสเตรเลีย | 0 | |||||||||
3 กุมภาพันธ์ – ศรีศิวฉัตรปตี | ||||||||||
เกาหลีใต้ | 1 | |||||||||
เกาหลีใต้ | 2 | |||||||||
30 มกราคม – ศรีศิวฉัตรปตี | ||||||||||
ฟิลิปปินส์ | 0 | |||||||||
จีนไทเป | 1 (3) | |||||||||
ฟิลิปปินส์ (ลูกโทษ) | 1 (4) | |||||||||
เพลย์ออฟ
[แก้]
ซีเอเอฟ
[แก้]คอนคาแคฟ
[แก้]คอนเมบอล
[แก้]ยูฟ่า
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Australia and New Zealand selected as co-hosts of FIFA Women's World Cup 2023". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 25 June 2020. สืบค้นเมื่อ 26 June 2020.
- ↑ "UEFA decisions for upcoming competitions relating to the ongoing suspension of Russian national teams and clubs". uefa.com. UEFA. 2 May 2022. สืบค้นเมื่อ 2 May 2022.