ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
เมืองชลบุรี
วันที่15–28 กันยายน 2562
ทีม(จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน14
จำนวนประตู57 (4.07 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม2,077 (148 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดญี่ปุ่น Maika Hamano (5 ประตู)
2017
2021
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2562

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี ครั้งที่ 8 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์เยาวชนระดับนานาชาติที่จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติหญิงชุดอายุไม่เกิน 16 ปี ของทวีปเอเชีย ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นที่ประเทศไทยในเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 โดยมีทั้งหมดแปดทีมเข้าร่วมแข่งขันในทัวร์นาเมนต์นี้

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีม ในฐานะ จำนวนครั้งที่ลงสนาม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 ไทย เจ้าภาพ ครั้งที่ 8 อันดับ 3 (2005)
 เกาหลีเหนือ 2017 ชนะเลิศ ครั้งที่ 7 แชมเปียนส์ (2007, 2015, 2017)
 เกาหลีใต้ 2017 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 8 แชมเปียนส์ (2009)
 ญี่ปุ่น 2017 อันดับ 3 ครั้งที่ 8 แชมเปียนส์ (2005, 2011, 2013)
 ออสเตรเลีย รอบที่ 2 กลุ่ม เอ ชนะเลิศ ครั้งที่ 6 อันดับ 4 (2009)
 เวียดนาม รอบที่ 2 กลุ่ม เอ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 1 ครั้งแรก
 จีน รอบที่ 2 กลุ่ม บี ชนะเลิศ ครั้งที่ 8 รองชนะเลิศ (2005)
 บังกลาเทศ รอบที่ 2 กลุ่ม บี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 3 รอบแบ่งกลุ่ม (2005, 2017)

สนามแข่งขัน[แก้]

แต่ละนัดคือลงเล่นที่สองสนามแข่งขัน, ทั้งสองสนามแข่งขันที่ อำเภอเมืองชลบุรี ใน จังหวัดชลบุรี.

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562, 15:30 ICT (UTC+7), ที่โรงแรมโอควูด ใน ชลบุรี, ประเทศไทย.[1][2] แปดทีมถูกจับสลากอยู่ในสองกลุ่มที่มีสี่ทีม. แต่ละทีมถูกจัดเป็นทีมวางตามประสิทธิภาพของพวกเขาใน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2017 รอบสุดท้าย และ รอบคัดเลือก, กับชาติเจ้าภาพ ประเทศไทยที่ได้สิทธิ์เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติและถูกจัดอยู้ในตำแหน่ง A1 ในการจับสลาก.[3]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
  1.  ไทย (เจ้าภาพ)
  2.  เกาหลีเหนือ

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 2 1 0 17 0 +17 7 รอบแพ้คัดออก
2  ออสเตรเลีย 3 1 2 0 8 3 +5 5
3  ไทย (H) 3 1 0 2 2 14 −12 3
4  บังกลาเทศ 3 0 1 2 2 12 −10 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
ญี่ปุ่น 0–0 ออสเตรเลีย
รายงาน
ผู้ชม: 223 คน
ผู้ตัดสิน: Law Bik Chi (ฮ่องกง)
ไทย 1–0 บังกลาเทศ
ธวันรัตน์ ประตู 59' รายงาน
ผู้ชม: 300 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Yu-jeong (เกาหลีใต้)

บังกลาเทศ 0–9 ญี่ปุ่น
รายงาน Hayashi ประตู 2'
Hamano ประตู 6'23'
Ota ประตู 17'
Nebu ประตู 43'51'
Hiranaka ประตู 49'
Tanno ประตู 60'61'
ผู้ชม: 165
ผู้ตัดสิน: Mahnaz Zokaee (อิหร่าน)
ออสเตรเลีย 6–1 ไทย
Jancevski ประตู 5'45+1'
Lowry ประตู 27'45+3'
Beaumont ประตู 51'59'
รายงาน จณิสตา ประตู 70'
ผู้ชม: 250 คน
ผู้ตัดสิน: Bùi Thị Thu Trang (เวียดนาม)

ไทย 0–8 ญี่ปุ่น
รายงาน Hamano ประตู 28'49'
Nishio ประตู 31'33'
Tanno ประตู 50'
Oyama ประตู 61'
Inose ประตู 70'
Amano ประตู 86'
ผู้ชม: 250 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Yu-jeong (เกาหลีใต้)
ออสเตรเลีย 2–2 บังกลาเทศ
Mihocic ประตู 77'
Zois ประตู 80'
รายงาน T. Khatun ประตู 21'78'
ผู้ชม: 172 คน
ผู้ตัดสิน: Mahsa Ghorbani (อิหร่าน)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีเหนือ 3 3 0 0 17 0 +17 9 รอบแพ้คัดออก
2  จีน 3 2 0 1 3 4 −1 6
3  เกาหลีใต้ 3 1 0 2 3 5 −2 3
4  เวียดนาม 3 0 0 3 0 14 −14 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
เกาหลีเหนือ 10–0 เวียดนาม
Kim Chung-mi ประตู 8'
Sin Pom-hyang ประตู 44' (ลูกโทษ)90+2'
Myong Yu-jong ประตู 51'85'
Kim Hye-yong ประตู 55'
Hong Song-ok ประตู 57'
Ham Ju-hyang ประตู 67'
Kim Kye-jong ประตู 71'78'
รายงาน
ผู้ชม: 105 คน
ผู้ตัดสิน: Thein Thein Aye (เมียนมาร์)
เกาหลีใต้ 0–2 จีน
รายงาน Zou Mengyao ประตู 66'
Shao Ziqin ประตู 75' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 80 คน
ผู้ตัดสิน: Mahsa Ghorbani (อิหร่าน)

จีน 0–4 เกาหลีเหนือ
รายงาน Kim Chung-mi ประตู 27'
Myong Yu-jong ประตู 36'
Sin Pom-hyang ประตู 60'
Hong Song-ok ประตู 83'
ผู้ชม: 119 คน
ผู้ตัดสิน: Rebecca Durcau (ออสเตรเลีย)
เวียดนาม 0–3 เกาหลีใต้
รายงาน Hwang Ah-yun ประตู 17'
Jang Jin-yeong ประตู 20'
Vũ Thị Hoa ประตู 90+1' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Asmita Manandhar (เนปาล)

เกาหลีเหนือ 3–0 เกาหลีใต้
Myong Yu-jong ประตู 36'
Hong Song-ok ประตู 56'
Kim Hye-yong ประตู 68'
รายงาน
ผู้ชม: 80 คน
ผู้ตัดสิน: Law Bik Chi (ฮ่องกง)
จีน 1–0 เวียดนาม
Shao Ziqin ประตู 81' รายงาน
ผู้ชม: 83 คน
ผู้ตัดสิน: Thein Thein Aye (เมียนมาร์)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
25 กันยายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 
 ญี่ปุ่น2
 
28 กันยายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 จีน0
 
 ญี่ปุ่น
 
25 กันยายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 เกาหลีเหนือ
 
 เกาหลีเหนือ3
 
 
 ออสเตรเลีย0
 
นัดชิงอันดับ 3
 
 
28 กันยายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 
 จีน
 
 
 ออสเตรเลีย

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์ไปเล่นสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี 2020.

เกาหลีเหนือ 3–0 ออสเตรเลีย
Kim Hye-yong ประตู 14'17'
Kim Pom-i ประตู 90+3'
รายงาน
ผู้ชม: 150 คน
ผู้ตัดสิน: Thein Thein Aye (เมียนมาร์)

ญี่ปุ่น 2–0 จีน
Nishio ประตู 71'
Hamano ประตู 82'
รายงาน

นัดชิงอันดับ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี[แก้]

ด้านล่างนี้คือสามทีมที่มาจากการคัดเลือกโซนเอเชียสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี 2020.

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ การลงสนามในทัวร์นาเมนต์ครั้งที่ผ่านมา1
 อินเดีย 15 มีนาคม 2562[4] 0 (ครั้งแรก)
 เกาหลีเหนือ 25 กันยายน 2562[5] 6 (2008, 2010, 2012, 2014, 2016, 2018)
 ญี่ปุ่น 25 กันยายน 2562[5] 6 (2008, 2010, 2012, 2014, 2016, 2018)
1 ตัวหนา สื่อถึงทีมแชมเปียนส์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง สื่อถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

ผู้ทำประตู[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 48 ประตูที่ทำได้ใน 10 นัด สำหรับค่าเฉลี่ย 4.8 ประตูต่อนัด (ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2562)

4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • เวียดนาม Vũ Thị Hoa (ในนัดที่พบกับ เกาหลีใต้)

อ้างอิง[แก้]

  1. "Asia's new faces set to discover path to glory". AFC. 22 May 2019.
  2. "Draw sets up enticing matches". AFC. 23 May 2019.
  3. "AFC U-16 Women's Championship Thailand 2019 Draw". YouTube. 23 May 2019.
  4. "FIFA Council decides on key steps for upcoming international tournaments". FIFA.com. 15 March 2019. สืบค้นเมื่อ 15 March 2019.
  5. 5.0 5.1 "Asian pair earn passage to world stage". FIFA.com. 25 September 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-19. สืบค้นเมื่อ 2019-09-25.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]