ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตซอลไทยลีก ฤดูกาล 2565

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตซอลไทยลีก
ฤดูกาล2565
วันที่2 กรกฎาคม – 25 ธันวาคม 2565
ทีมชนะเลิศการท่าเรือ เอเอสเอ็ม
ตกชั้นเอ็นที ฟุตซอลคลับ
เชสส์ มหาสารคาม
ฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2566 รอบแบ่งกลุ่มการท่าเรือ เอเอสเอ็ม
ฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน 2566 รอบแบ่งกลุ่มห้องเย็นท่าข้าม
2566

ฟุตซอลไทยลีก ฤดูกาล 2565 เป็นการแข่งขันฟุตซอลอาชีพระดับสูงสุดของประเทศไทยภายใต้การจัดการของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย และการกีฬาแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 15 ในปี พ.ศ. 2565 ซึ่งในฤดูกาลนี้มี 14 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน โดยจะแข่งขันในระบบเหย้า-เยือน โดยเริ่มต้นฤดูกาลการแข่งขันในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2565

สโมสร

[แก้]

สโมสรที่เข้าและออกจากไทยลีก

[แก้]

ตกชั้นสู่ไทยลีก 2

[แก้]

เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า อันดับฤดูกาล 2564–2565
การท่าเรือ เอเอสเอ็ม กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) โกดังสเตเดียม 4
เกษมบัณฑิต กรุงเทพมหานคร (มีนบุรี) ยิมเนเซี่ยมชั้น 12 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า 12
บลูเวฟ ชลบุรี ชลบุรี บลูเวฟอารีนา 1
เชสส์ มหาสารคาม มหาสารคาม ยิมเนเซี่ยมใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2 (ไทยลีก 2)
ธรรมศาสตร์ สแตลเลี่ยน ปทุมธานี ยิมเนเซียม 6 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 6
นนทบุรี ฟุตซอลคลับ นนทบุรี ลำโพสเตเดียม 9
แบงค็อก บีทีเอส กรุงเทพมหานคร (มีนบุรี) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 3
แบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด นครนายก อาคารกีฬา 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ 5
ฟุตซอลไทยอาร์มี่ กาญจนบุรี อาคารสุรสิงหนาท กองพลทหารราบที่ 9 1 (ไทยลีก 2)
ราชนาวี กรุงเทพมหานคร (บางนา) สนาม​ภูติอนันต์​ บางนา​ 11
ราชภัฏเพชรบุรี H3 เพชรบุรี สนามยิมเนเซียม 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 8
สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี ช้างตาปีอารีนา 10
ห้องเย็นท่าข้าม สมุทรสาคร ท่าข้ามสนามชัย 2
เอ็นที ฟุตซอลคลับ กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) อาคารกีฬาในร่ม เอ็นที สำนักงานแจ้งวัฒนะ 7

ข้อมูลสโมสร

[แก้]
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
การท่าเรือ เอเอสเอ็ม ประเทศไทย อุดม ทวีสุข ประเทศไทย ชัยวัฒน์ แจ่มกระจ่าง แพน
เกษมบัณฑิต ประเทศไทย สมบัติ ปานสมุทร (รักษาการ) ประเทศไทย จัหจาฮ อันเวอร์ บัตต์ แกรนด์สปอร์ต
บลูเวฟ ชลบุรี ประเทศบราซิล อังแดร เบีย ประเทศไทย กฤษดา วงษ์แก้ว ออลเซทท์
เชสส์ มหาสารคาม ประเทศไทย อธิพงษ์ สระกลาง ประเทศไทย กรวิทย์ แซ่โง้ว เคเอ็มทีดีไซน์
ธรรมศาสตร์ สแตลเลี่ยน ประเทศไทย พัทยา เปี่ยมคุ้ม ประเทศไทย จิรวัฒน์ สอนวิเชียร ไอมาเน่
นนทบุรี ฟุตซอลคลับ ประเทศไทย ศักดิ์สิทธิ์ ศิวะสกุล ประเทศไทย นราวิชญ์ เจริญสุข ไอมาเน่
แบงค็อก บีทีเอส ประเทศไทย รณชัย มะขยัน ประเทศไทย ปัญญพนต์ พุ่มวิเศษ แกรนด์สปอร์ต
แบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล ฌูรันดิร์ ประเทศไทย ภานุพงศ์ หินนอก ไอมาเน่
ฟุตซอลไทยอาร์มี่ ประเทศไทย โชคดี คะเณเร็ว ประเทศไทย อนุพงษ์ ฤทธิธาพรม วินส์
ราชนาวี ประเทศไทย จักรภพ​ ฮวดศรี​ ประเทศไทย พันธวัช ธงชัย ไอมาเน่
ราชภัฏเพชรบุรี H3 ประเทศไทย พีระ แหลมหลวง ประเทศไทย เจริญ แซ่น้า เอชทรี
สุราษฎร์ธานี ประเทศไทย วิฑูรย์ ถาพินนา ประเทศไทย เอกพงษ์ สุรัตน์สว่าง วอริกซ์
ห้องเย็นท่าข้าม ประเทศไทย ธนาธร สันทนาประสิทธิ์ ประเทศไทย คฑาวุธ ภู่พันธ์ เอชทรี
เอ็นที ฟุตซอลคลับ ประเทศไทย วีระยุทธ ทวีกัน ประเทศไทย จักรพล อาจเอี่ยม คัปปา

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนนักกีฬาต่างชาติกำหนดให้เป็นนักกีฬาต่างชาติได้ไม่เกิน 3 คน

ชื่อผู้เล่นใน ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นลงทะเบียนระหว่างช่วงโอนย้ายกลางฤดูกาล

สโมสร ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3 อดีตผู้เล่น
การท่าเรือ เอเอสเอ็ม ประเทศบราซิล มาร์กุช วีนีซียุส ประเทศบราซิล รีอัง โกมีส ประเทศบราซิล โรมวลดู ดา ซิลวา
เกษมบัณฑิต ประเทศญี่ปุ่น โช คูโรยานากิ
บลูเวฟ ชลบุรี ประเทศบราซิล แอลียู แนตู ประเทศบราซิล ลูกัส ไฟรตัช ประเทศบราซิล แปลีญา
เชสส์ มหาสารคาม
ธรรมศาสตร์ สแตลเลี่ยน ประเทศบราซิล ฟาบรีซีอู ประเทศบราซิล ชียากู โกเวีย ประเทศบราซิล ตูตา ประเทศบราซิล มากัซ กาวา
นนทบุรี ฟุตซอลคลับ
แบงค็อก บีทีเอส ประเทศบราซิล อาราซา ประเทศบราซิล โรดรีกันญู
แบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล ลูกัส บูเอรา ประเทศบราซิล เนเน ประเทศบราซิล มากัซ กาวา
ฟุตซอลไทยอาร์มี่
ราชนาวี ประเทศอินโดนีเซีย อิคซานี ฟาจาร์ ประเทศอินโดนีเซีย มูฮัมมัด อัลบากีร์ ประเทศอินโดนีเซีย เว็นดี บรีอัน ลินเดร็ย อีจก
ราชภัฏเพชรบุรี H3 ประเทศบราซิล เอลลีซง บรังกู ประเทศบราซิล วิกตูร์ อูกู
สุราษฎร์ธานี ประเทศบราซิล เคลย์ตง อังตูเนส ประเทศบราซิล เคอูดง ประเทศบราซิล โรดรีกู วีอานา
ห้องเย็นท่าข้าม ประเทศบราซิล เวนเดล เม็งดึช ประเทศบราซิล เปาลู บาร์บอซา ประเทศบราซิล แนตู ไวกา ประเทศบราซิล วีลียัม บอร์ดิกนง
เอ็นที ฟุตซอลคลับ ประเทศเกาหลีใต้ คิม ยุน-ย็อง ประเทศมาเลเซีย มูฮัมมัด ฟีร์ดาอุซ ซุลเกฟี

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 การท่าเรือ เอเอสเอ็ม (C, Q) 26 21 3 2 112 43 +69 66 ฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2566 รอบแบ่งกลุ่ม
2 ห้องเย็นท่าข้าม (Q) 26 20 2 4 99 43 +56 62 ฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน 2566 รอบแบ่งกลุ่ม
3 แบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด 26 18 3 5 99 55 +44 57
4 บลูเวฟ ชลบุรี 26 18 2 6 125 54 +71 56
5 ธรรมศาสตร์ สแตลเลี่ยน 26 17 3 6 86 58 +28 54
6 แบงค็อก บีทีเอส 26 16 4 6 88 55 +33 52
7 สุราษฎร์ธานี 26 9 5 12 72 81 −9 32
8 ราชภัฏเพชรบุรี H3 26 8 5 13 66 78 −12 29
9 ราชนาวี 26 7 6 13 78 88 −10 27
10 ฟุตซอลไทยอาร์มี่ 26 7 3 16 62 95 −33 24
11 นนทบุรี ฟุตซอลคลับ 26 6 5 15 52 77 −25 23
12 เกษมบัณฑิต 26 6 3 17 57 94 −37 21
13 เอ็นที ฟุตซอลคลับ (R) 26 6 1 19 56 98 −42 19 ตกชั้นสู่ ฟุตซอลไทยลีก 2 ฤดูกาล 2566–2567
14 เชสส์ มหาสารคาม (R) 26 0 1 25 32 165 −133 1
แหล่งข้อมูล: Futsal Thailand - ฟุตซอลไทยแลนด์
กฏการจัดอันดับ: ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. ครองอันดับร่วม
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด 3. จำนวนครั้งที่ชนะ 4. ผลต่างประตูได้-เสีย 5. ประตูได้ 6. จับสลากเพื่อจัดอันดับ 7. ให้พิจารณาเรียงลำดับ เมื่อตัดสินหาอันดับได้แล้วให้ยุติพิจารณาข้อต่อไป[1]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น

สถิติประจำฤดูกาล

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2565
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 ประเทศบราซิล ฟาบรีซีอู ธรรมศาสตร์ สแตลเลี่ยน 30
2 ประเทศไทย พีระพล สัตย์ซื่อ แบงค็อก บีทีเอส 22
3 ประเทศบราซิล เคลย์ตง อังตูเนส สุราษฎร์ธานี 19
4 ประเทศไทย นาวิน รัตนวงศ์สวัสดิ์ แบงค็อก บีทีเอส 18
5 ประเทศไทย อธิปพงศ์ มุ่นพลาย ห้องเย็นท่าข้าม 15
ประเทศไทย วิทยา ด้วงภู ห้องเย็นท่าข้าม

รางวัล

[แก้]

รางวัลประจำฤดูกาล

[แก้]
รางวัล ผู้ชนะ สโมสร
ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล อุดม ทวีสุข การท่าเรือ เอเอสเอ็ม
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล อิทธิชา ประภาพันธ์ การท่าเรือ เอเอสเอ็ม
ผู้ทำประตูสูงสุดประจำฤดูกาล ฟาบรีซีอู ธรรมศาสตร์ สแตลเลี่ยน
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล นัทธพงศ์ หยีมะเหรบ การท่าเรือ เอเอสเอ็ม

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตซอลลีกอาชีพ รายการ "ฟุตซอลไทยลีก" พ.ศ. 2565" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]