ฟุตซอลชิงแชมป์โอเชียเนีย
หน้าตา
ก่อตั้ง | 1992 |
---|---|
ภูมิภาค | โอเชียเนีย (โอเอฟซี) |
จำนวนทีม | 5 |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | หมู่เกาะโซโลมอน (5 ครั้ง) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | ออสเตรเลีย หมู่เกาะโซโลมอน (5 ครั้งเท่ากัน) |
ฟุตซอลชิงแชมป์โอเชียเนีย 2016 |
ฟุตซอลชิงแชมป์โอเชียเนีย หรือโอเอฟซี ฟุตซอลแชมป์เปียนส์ชิพ (อังกฤษ: OFC Futsal Championship) เป็นการแข่งขันฟุตซอลในโอเชียเนียถูกจัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (OFC) ซึ่งถูกจัดครั้งแรกในปี 1992
ในตอนแรกนั้นจะจัดการแข่งขันแบบ4ปีครั้งแต่หลังจากปี 2008ได้เปลี่ยนเป็นการแข่งปีละครั้งแทน[1]
ฟุตซอลทีมชาติออสเตรเลียนั้นเป็นผู้ชนะทุกครั้งจนกระทั่งออกจากสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนียไปในปี 2006 จนทำให้ฟุตซอลทีมชาติหมู่เกาะโซโลมอนได้รับชัยชนะและเป็นทีมที่แข็งแกร่งที่สุดในโอเชียเนียแทน[2]ซึ่งฟุตซอลทีมชาติหมู่เกาะโซโลมอนเคยชนะฟุตซอลทีมชาติฟีจี8ประตูต่อ1ในการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศปี 2009 ซึ่งเป็นผลต่างที่มากที่สุดอีกด้วย[3]
ผลการแข่งขัน
[แก้]เหรีญรางวัลร่วม
[แก้]อันดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | ออสเตรเลีย | 5 | 0 | 0 | 5 |
2 | หมู่เกาะโซโลมอน | 5 | 0 | 0 | 5 |
3 | มาเลเซีย | 1 | 1 | 0 | 2 |
4 | ฟีจี | 0 | 3 | 1 | 4 |
5 | นิวซีแลนด์ | 0 | 2 | 5 | 7 |
6 | วานูวาตู | 0 | 2 | 4 | 6 |
7 | เฟรนช์พอลินีเชีย | 0 | 2 | 1 | 3 |
8 | นิวแคลิโดเนีย | 0 | 1 | 0 | 1 |
รวม | 11 | 11 | 11 | 33 |
สถิติทั้งหมด
[แก้]อันดับ | ทีม | ลงเล่น | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | แต้ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | หมู่เกาะโซโลมอน | 7 | 34 | 27 | 0 | 7 | 227 | 101 | +126 | 81 |
2 | นิวซีแลนด์ | 9 | 46 | 26 | 3 | 17 | 174 | 151 | +23 | 79 |
3 | ออสเตรเลีย | 5 | 26 | 26 | 0 | 0 | 182 | 20 | +162 | 78 |
4 | วานูวาตู | 11 | 54 | 24 | 4 | 26 | 205 | 210 | -5 | 76 |
5 | ฟีจี | 8 | 42 | 19 | 3 | 20 | 169 | 163 | +6 | 60 |
6 | เฟรนช์พอลินีเชีย | 6 | 31 | 13 | 5 | 13 | 85 | 72 | +13 | 44 |
7 | นิวแคลิโดเนีย | 7 | 33 | 8 | 3 | 22 | 119 | 161 | –42 | 27 |
8 | มาเลเซีย | 2 | 9 | 6 | 1 | 2 | 44 | 27 | +17 | 19 |
9 | ปาปัวนิวกินี | 1 | 6 | 3 | 1 | 2 | 23 | 16 | +7 | 10 |
10 | คิริบาส | 1 | 4 | 1 | 0 | 3 | 9 | 54 | -45 | 3 |
11 | ซามัว | 3 | 17 | 1 | 0 | 16 | 45 | 146 | –101 | 3 |
12 | หมู่เกาะคุก | 1 | 6 | 0 | 0 | 6 | 6 | 27 | –21 | 0 |
13 | ตูวาลู | 3 | 16 | 0 | 0 | 16 | 17 | 146 | –129 | 0 |
อัปเดตล่าสุดเมืองปี 2017:[4]
ประเทศที่เข้าร่วม
[แก้]- 1st — ชนะเลิศ
- 2nd — อันดับ 2
- 3rd — อันดับ 3
- 4th — อันดับ 4
- SF — รอบรองชนะเลิศ
- QF — รอบก่อนรองชนะเลิศ
- GS — รอบแบ่งกลุ่ม
- R2 — รอบ 2
- R1 — รอบ 1
- q — ผ่านเข้ารอบคัดเลือก
- • — ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- – ไม่ได้เข้าร่วม / ถอนตัว / โดนแบน / โดนคว่ำบาตรโดยฟีฟ่า
- — Hosts
Team | 1992 |
1996 |
2000 |
2004 |
2008 |
2009 |
2010 |
2011 |
2013 |
2014 |
2016 |
Years |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ออสเตรเลีย | 1st | 1st | 1st | 1st | 1st | 5 | ||||||
หมู่เกาะคุก | 7th | 1 | ||||||||||
ฟีจี | 3rd | 2nd | 4th | 5th | 2nd | 2nd | 5th | 6th | 8 | |||
เฟรนช์พอลินีเชีย | 2nd | 6th | 2nd | 4th | 4th | 3rd | 6 | |||||
คิริบาส | 7th | 1 | ||||||||||
มาเลเซีย | 2nd | 1st | 2 | |||||||||
นิวแคลิโดเนีย | 6th | 4th | 5th | 6th | 8th | 2nd | 5th | 7 | ||||
นิวซีแลนด์ | 3rd | 5th | 2nd | 4th | 3rd | 3rd | 3rd | 3rd | 2nd | 9 | ||
ปาปัวนิวกินี | 4th | 1 | ||||||||||
ซามัว | 4th | 6th | 6th | 3 | ||||||||
หมู่เกาะโซโลมอน | 5th | 1st | 1st | 1st | 1st | 5th | 1st | 7 | ||||
ตูวาลู | 7th | 7th | 8th | 3 | ||||||||
วานูวาตู | 2nd | 2nd | 3rd | 3rd | 3rd | 3rd | 4th | 4th | 6th | 5th | 4th | 11 |
รวม | 3 | 4 | 7 | 6 | 7 | 4 | 7 | 8 | 8 | 5 | 6 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "OFC FUTSAL CHAMPIONSHIP 2009 - TV SCHEDULE ANNOUNCEMENT" เก็บถาวร 2009-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Oceania Football Confederation, July 6, 2009
- ↑ "OFC FUTSAL CHAMPIONSHIP 2009 - TV SCHEDULE ANNOUNCEMENT" เก็บถาวร 2009-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Oceania Football Confederation, July 6, 2009
- ↑ "Solomons retains Futsal title", FijiVillage News, July 11, 2009
- ↑ "FutsalPlanet". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-16. สืบค้นเมื่อ 2017-06-28.