พูดคุย:เจตนา นาควัชระ
เพิ่มหัวข้อบทความนี้ต้องเป็นไปตามนโยบายชีวประวัติของบุคคลที่มีชีวิตอยู่ (BLP) แม้ว่าจะไม่ใช่ชีวประวัติก็ตาม เพราะมีเนื้อหาเกี่ยวกับบุคคลที่มีชีวิตอยู่ เนื้อหาที่มีการโต้เถียงเกี่ยวกับบุคคลที่มีชีวิตซึ่งไม่มีแหล่งที่มา หรือแหล่งที่มาไม่ดีต้องถูกลบออกทันทีจากบทความและหน้าอภิปราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อาจเป็นการหมิ่นประมาท หากใส่เนื้อหาดังกล่าวซ้ำ ๆ หรือหากคุณมีข้อกังวลอื่น ๆ โปรดรายงานปัญหาไปที่กระดานประกาศนี้ หากคุณคือหัวข้อเรื่องบทความนี้ หรือทำหน้าที่แทน และคุณต้องการความช่วยเหลือ โปรดดูหน้าความช่วยเหลือนี้ |
บทความนี้อยู่ในโครงการวิกิต่อไปนี้: | |||||||||||||||||||
|
เจตนา นาควัชระ เป็นบทความที่ผ่านการคัดเลือกให้เป็น บทความคัดสรร ภายใต้หลักเกณฑ์ของบทความคัดสรร อย่างไรก็ตาม เราขอให้คุณช่วยปรับปรุง หากคุณสามารถพัฒนาบทความนี้ให้ดีขึ้นได้ และหากเห็นว่าบทความนี้ไม่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ของบทความคัดสรร กรุณาแจ้งที่นี่ (วันที่พิจารณา: 31/07/2566) |
เนื้อหาในบทความ เจตนา นาควัชระ ได้ปรากฏในคอลัมน์รู้ไหมว่าบนหน้าหลักวิกิพีเดีย ระหว่างวันที่ 22 – 30 เมษายน พ.ศ. 2565 โดยมีข้อความที่ปรากฏบนหน้าหลัก ดังต่อไปนี้ "รู้ไหมว่า
|
การเปิดดูหน้าเว็บประจำวันของ เจตนา นาควัชระ
กราฟควรแสดงอยู่ที่นี่แต่กราฟถูกปิดใช้งานชั่วคราว จนกว่ากราฟจะเปิดใช้งานอีกครั้ง ดูกราฟเชิงโต้ตอบที่ pageviews.wmcloud.org |
การทับศัพท์ภาษาที่เกี่ยวข้อง
[แก้]รวบรวมไว้เป็นรายการใน wikidata น่าจะง่ายแก่การนำไปใช้งานและปรับปรุงได้ ซึ่งได้รวมลิงก์ข้ามภาษาไว้ด้วยเลย ขอบคุณผลงานของคุณ Potapt นะครับ
- อาจต้องทดแทนด้วยคำที่พบได้ในได้เอกสารอ้างอิงว่าได้ใช้กันมาอยู่แล้วเช่นนั้น
- wikidata จะช่วยให้ข้อมูลสอดคล้องเป็นมาตรฐานเดียวกันสำหรับการแก้ไขในทุกโครงการและทุกภาษา จึงควรใส่ใจนำมาใช้แต่ต้น
รายการด้านล่างแบ่งตามภาษาที่เป็นที่มาของชื่อ เฉพาะที่ยังไม่มีบทความในภาษาไทยหรือยังไม่มีรายการใน wikidata หรือมีแล้วแต่เขียนได้หลายแบบหรือจะมีปัญหาความสอดคล้องกันในการเขียนชื่อได้ -- Taweethaも (คุย) 00:58, 19 พฤษภาคม 2565 (+07)
- ภาษาเยอรมัน วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน/การทับศัพท์ภาษาเยอรมัน
- ควร์ท ไวส์ (Q1794216)
- สำนักพิมพ์มัคส์ นีไมเออร์ (Q1270338) / เขียนว่า มักส์ ได้หรือไม่ (ความความนิยมใน google ค้นหาในปัจจุบัน "มัคซ์" มีผลลัพธ์ 1200 รายการ ส่วน "มักส์" มีผลลัพธ์ 188,000 รายการ)
- ขอใช้ มักส์ ตามความนิยมไปก่อน / ตามคู่มือแล้วต้องเป็น มักส์
- เอากุสท์ วิลเฮ็ล์ม ชเลเกิล (Q57281) / เขียนว่า ชเลเกล ได้หรือไม่
- ขอใช้ ชเลเกล ตามความนิยมไปก่อน / ตามคู่มือแล้วต้องเป็น ชเลเกิล
- แวร์เนอร์ ลุทซ์ (Q2561959)
- ไรเนอร์ มัลค็อฟสกี (Q2128279)
- เอเบอร์ฮาร์ท เล็มเมิร์ท (Q1279206)
- แบร์ท็อลท์ เบร็ชท์ (Q38757)
- ไรน์ฮ็อลท์ กริม (Q59533096) / (Q77083408) มีสองรายการ
อาจจะต้องรวมหากเป็นบุคคลเดียวกันต้องเลือกบุคคลเดียว จากบทความ doi:10.1163/26659077-00501001 มากจาก UC Riverside จึงเป็นบุคคลแรก - อเล็คซันเดอร์ ฟ็อน ฮุมบ็อลท์ (Q6694) / เขียนว่า โบลท์ ได้หรือไม่ (ตามความนิยมใน google ค้นหาในปัจจุบัน "ฮุมโบลท์" มีผลลัพธ์ 883 รายการ ส่วน "ฮุมบ็อลท์" มีผลลัพธ์ 532 รายการ)
- ขอใช้ ฮุมโบลท์ ตามความนิยมไปก่อน / ตามคู่มือแล้วต้องเป็น ฮุมบ็อลท์
- อ็อสคาร์ วัลท์เซิล (Q90520)
- ฟรีเดอรีเคอ ไมเริคเคอร์ (Q93614)
- (Q675309) เขียนว่า เกอเธ่ เกอเธอ ได้หรือไม่ (เทียบ สถาบันเกอเธ่ (Q157033) โยฮัน ว็อล์ฟกัง ฟ็อน เกอเทอ (Q5879)) (ตามความนิยมใน google ค้นหาในปัจจุบัน "เกอเทอ" มีผลลัพธ์ 10500 รายการ "เกอเธ่" มีผลลัพธ์ 124000 รายการ และ "เกอเธอ" มีผลลัพธ์ 7390 รายการ)
- ขอใช้ เกอเธ่ ตามความนิยมไปก่อน / ตามคู่มือแล้วต้องเป็น เกอเทอ
- ภาษาอังกฤษ
- รอเจอร์ พอลิน (Q7358770)
- เนวิลล์ คาร์ดัส (Q7004641)
- เอฟ. อาร์. ลีวิส (Q2428288)
- รอนัลด์ พีค็อก (Q16686317)
- ปีเตอร์ ลังก์ (Q669937)
- ภาษาฝรั่งเศส
- ชาร์ล โบดแลร์ (Q501) - ตรวจสอบว่าแก้ไขเป็น ชาร์ลส์ ถูกต้องหรือไม่
- อาลแบร์ กามูว์ (Q34670) - ตรวจสอบว่าแก้ไขเป็น อัลแบร์ กามูส์ ถูกต้องหรือไม่
- ภาษาไทย
- หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (Q835781)
- ชมัยภร บางคมบาง (Q16140359)
- กรกช อัตตวิริยะนุภาพ Korakoch Attiviriyanupap
- สดชื่น ชัยประสาธน์ Sodchuen Chaiprasathna
- กัญญา เจริญศุภกุล Kanya Charoensupkul
- ดวงมน จิตร์จำนงค์ Duangmon Chitchamnong
- ปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ์ Parichat Jungwiwattanaporn
- คำรณ คุณะดิลก Khamron Gunatilaka
- สุนทรียา เหมือนพะวงศ์ Suntariya Muanpawong
- ประดิษฐ ประสาททอง Pradit Prasartthong
- สุกัญญา สมไพบูลย์ Sukanya Sompaiboon
- ทัศนีย์ นาควัชระ Tasanee Nagavajara
- ทัศนา นาควัชระ Tasana Nagavajara
- ภาษาเช็ก
- ภาษาอินโดนีเซีย
- ภาษา x
- Kimho Ip
วิธีกล่าวถึงบุคคลในบทความ
[แก้]ตาม WP:MOS และตัวอย่าง ปรีดี พนมยงค์ (บทความคัดสรร) และ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ กล่าวถึงชื่อบุคคลในบทความอย่างสั้นๆ ว่า "เขา" หรือใช้ชื่อตัว ดังนั้นในบทความนี้ควรจะใช้วิธีการเดียวกัน (ในบทความภาษาอังกฤษใช้นามสกุลสลับกับสรรพนาม He เพื่อไม่ให้น่าเบื่อ ในบทความนี้ก็จะจะสลับไปมาได้คล้ายกันโดยใช้ชื่อตัวและสรรพนาม "เขา" ด้วยมาตรฐานคล้ายกันโดยอนุโลม) --Taweethaも (คุย) 09:17, 29 พฤษภาคม 2565 (+07)
ย้ายออกจากบทความ/ยังไม่ได้ใส่/รอพิจารณา
[แก้]ขอรวมไว้ในส่วนนี้ก่อนนะครับ เป็นของที่มีผู้เขียนเดิมไว้ก่อนจะแปลจากภาษาอังกฤษมาและอาจไม่เข้ากับข้อความที่แปลมาในปัจจุบัน --Taweethaも (คุย) 16:57, 3 มิถุนายน 2565 (+07)
- ข้อความ
เขายังเป็นนักวิจารณ์วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงและโดดเด่นคนหนึ่งในสังคมไทย นอกจากนี้ยังเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "วัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์"[1] "สายกลางแห่งการวิจารณ์"[2] และ "วานรชำราบ"[3] เป็นต้น
- หนังสือที่เขียนขึ้น
- ย้ายไปส่วน "ผลงานทางวิชาการที่โดดเด่น" แล้ว แยกเป็นสามกลุ่มหลัก และพยายามดึงเฉพาะผลงานที่โดดเด่นในช่วงทศวรรษนั้นออกมาไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน
- แนวคิด
คนจนนั้นใช่ว่าจะถูกกำหนดด้วยสิ่งแวดล้อมจนเป็นทาสของวัตถุไปอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ คนจนยังมีความเป็นมนุษย์ คนจนยังมีทางเลือกที่จะเป็นอิสระ เป็นไทแก่ตัวเอง นั้นก็คือการเปลี่ยนสภาพ เปลี่ยนถิ่นฐาน จากความจนชนิดหนึ่งไปสู่ความจนอีกแบบหนึ่งนั่นเอง[4]
— เจตนา นาควัชระ
- ↑ เจตนา นาควัชระ.(2552) พลังปัญญาทางมนุษยศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ โครงการวิถีทรรศน์ (หน้า 59)
- ↑ เจตนา นาควัชระ.(2555) ทางสายกลางแห่งวิจารณ์(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ Openbooks (หน้า 9)
- ↑ เจตนา นาควัชระ.(2542) ลบเส้นพรมแดนแห่งศิลปะ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (หน้า 12)
- ↑ เจตนา นาควัชระ (2530). ทางอันไม่รู้จบของวัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์ (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: เทียนวรรณ
ทบวงมหาวิทยาลัย
[แก้]ได้รับการแก้ไขเป็นสำนักนายกรัฐมนตรีถูกต้องแล้วตามช่วงเวลาที่เกิดเหตุ https://lawapp.su.ac.th/uploads/article2.pdf https://www.council.su.ac.th/files/document/LAW/Statute/statute_su2530.pdf (พ.ศ. 2502-2515 มหาวิทยาลัยอยู่ภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรี) ก่อนจะเกิดทบวงมหาวิทยาลัยใน พ.ศ. 2515 (ปว. 216 ลว 20 ก.ย. 15 ) Taweethaも (คุย) 11:00, 15 มิถุนายน 2565 (+07)