ข้ามไปเนื้อหา

พูดคุย:สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ บทความเฉลิมพระเกียรติ ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการได้โดยการช่วยกันพัฒนาบทความ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี หรือแวะไปที่หน้าโครงการเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิพระมหากษัตริย์และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์ และพระบรมวงศานุวงศ์ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการศึกษาค้นคว้าที่น่าเชื่อถือสำหรับผู้อ่าน ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ขอความอนุเคราะห์ล็อกสมบูรณ์

[แก้]

เนื่องจากมีการก่อกวนมากครับผม กราบขอบพระคุณครับ--Longlivethekingofthailand (พูดคุย) 15:18, 22 ตุลาคม 2557 (ICT)

เว้นวรรคหน้าไปยาลน้อย

[แก้]

เอกสารของวังยังนิยมเขียนแบบโบราณ คือ เว้นวรรคหน้าไปยาลน้อย (ดูตัวอย่าง)

แต่ตามหลักเกณฑ์ของราชการในปัจจุบันไม่เว้นวรรค เช่น หลักเกณฑ์ราชบัณฑิตฯ ระบุว่า "สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ"

แม้แต่ในราชกิจจาฯ เอง ในเอกสารอื่นนอกจากเอกสารที่ออกจากวัง ก็ไม่มีเว้นวรรค เช่น

ฯลฯ

วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน#ไปยาลน้อย_(ฯ) ก็ไม่เว้นวรรค

และโดยความนิยมปัจจุบัน ก็ไม่เว้นวรรค เช่น "กรุงเทพฯ" ก็ไม่มีใครเขียนว่า "กรุงเทพ ฯ"

นอกจากนี้ สาเหตุที่ไม่ควรเว้นวรรค เพราะไปยาลน้อยที่เว้นวรรคหน้า จะไม่ได้ทำหน้าที่เครื่องหมายย่อ จะกลายเป็นอังคั่นเดี่ยว ซึ่งเป็นเครื่องหมายจบประโยค (ดู รูปนี้ เป็นต้น)

--Miwako Sato (คุย) 17:24, 22 ธันวาคม 2562 (+07)ตอบกลับ