ข้ามไปเนื้อหา

พูดคุย:ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ความเห็นล่าสุดเมื่อ: 1 ปีที่แล้ว โดย 2001:44C8:4358:2946:0:0:0:1 ในหัวข้อ นัยสำคัญของพุทธศาสนา
ธงพระธรรมจักร
ธงพระพุทธศาสนาสากล
ศาสนาพุทธในประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิพระพุทธศาสนา และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมเรื่องทุกอย่างเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ถ้าต้องการมีส่วนร่วมโครงการ สามารถเข้าร่วมได้ที่หน้าโครงการ
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ศาสนาพุทธในประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ บทความเฉลิมพระเกียรติ ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการได้โดยการช่วยกันพัฒนาบทความ ศาสนาพุทธในประเทศไทย หรือแวะไปที่หน้าโครงการเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ศาสนาพุทธในประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ศาสนาพุทธในประเทศไทย หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ศาสนาพุทธในประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิทวีปเอเชีย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับทวีปเอเชีย ทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ศาสนาพุทธในประเทศไทย หรือแวะไปที่หน้าโครงการเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ


เสนอเพื่อเป็นบทความคุณภาพ

[แก้]
ดูเพิ่มเติมได้ที่ วิกิพีเดีย:เสนอบทความคุณภาพ/พุทธศาสนาในประเทศไทย

นัยสำคัญของพุทธศาสนา

[แก้]

นัยสำคัญของพุทธศาสนา

.......Achara Phanurat*

........พุทธศาสนามีองค์ประกอบสามอย่างคือ 1. หมวดของ"กัลยาณมิตตา"ได้แก่คำสอนหมายถึงศาสนา ผู้สอน และศาสนพิธี 2.หมวดของ"โยนิโสมนสิการ"คือการใช้ความคิดอย่างถูกวิธีหรือการปฏิบัติภายในใจอย่างละเอียดแยบคาย มีอยู่ 10 วิธี หรืออาจใช้ในลักษณะของปรัชญานั่นเอง 3. หมวดของ"อัปปมาทะ"คือความเป็นอยู่อย่างไม่ขาดสติ ดำเนินชีวิตโดยมีสติเป็นเครื่องกำกับความประพฤติปฏิบัติและการกระทำทุกอย่าง ซึ่งคนทั่วไปมักเรียกว่า"Lifestyle"หรือแบบแผนการดำเนินชีวิต

    พุทธศาสนาไม่ได้เป็นเพียงศาสนา แต่เป็นทั้งหลักปรัชญาและแบบแผนการดำเนินชีวิต  ผู้ก่อตั้งพระพุทธศาสนาขึ้นคือเจ้าชายสิทธารถะโคตะมะแห่งอินเดีย ซึ่งมีชีวิตอยู่ในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช  

.......พระองค์สงสัยใคร่รู้"วิชชา"เพื่อหาหนทางแก้ไขความชั่วร้ายและความทุกข์โศกของการดำรงอยู่ของมนุษย์

        พระองค์ทรงฝึกกายและใจทุกวิถีทางและค้นพบเหตุและผลของปัจจัย 12 คู่ที่อาศัยการเกิดและการดับซึ่งกันและกัน เรียกว่า"อิทัปปัจยตา" กระทั่งค้นพบประสบด้วยตนเองกับ"มหาวิชชา" ซึ่งประกอบด้วยการตระหนักว่าความจริงที่มีอยู่ในโลกนี้คือภาพมายา.   จากนั้นพระองค์จึงพบวิธีการก้าวข้ามการดำรงอยู่อย่างเห็นแก่ตัวของตนของทุกคน.  
      จึงทรงเป็นพระพุทธเจ้า หรือหมายถึง "ผู้ตื่น" หรือ "ผู้รู้แจ้ง"  ด้วยเหตุนี้ ชื่อ "พระพุทธเจ้า" จึงไม่ได้หมายถึงบุคคลในประวัติศาสตร์ที่เฉพาะเจาะจงนี้หรือคนนี้เท่านั้น แต่หมายถึงสิ่งมีชีวิตใดๆ ที่บรรลุถึงการตื่นรู้ทางจิตวิญญาณและการตรัสรู้อันศักดิ์สิทธิ์  
       แนวคิดหลักของคำสอนทางพุทธศาสนาคือการหลุดพ้นจากความทุกข์ของมนุษย์และวงจรการเกิดใหม่ซึ่งเคยสอนโดยศาสนาฮินดู 
     พุทธศาสนิกชนควรมีการเรียนรู้พื้นฐานคือศรัทธาในการเกิดใหม่(หรือกรรมอันหมายถึงกรรมเป็นของตน กรรมเป็นแดนเกิด  กรรมเป็นเผ่าพันธุ์ กรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมเป็นผู้ติดตาม) การละทิ้งสิ่งที่เป็นผลประโยชน์ของโลก ขณะเดียวกันต้องมีความรักผู้อื่น ความเห็นอกเห็นใจ และความเคารพต่อสรรพสัตว์
      ทุกวันนี้มีสาวกถึง 8 ล้านคน ตั้งแต่พระพุทธศาสนาถือกำเนิดขึ้น

อ้างอิง

อัจฉรา ภาณุรัตน์(2565) ยโสธร
                  ห้องปฏิบัติการไฮเบอร์เนต,
                  สุรินทร์ : SRRU Press.
........................
* อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
.....ประธานกิตติคุณหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตใน RDS (SRRU) ประเทศไทย
.....ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมฆาลัย ประเทศอินเดีย
     และประธานจัดงานมหกรรมคติชนวิทยานานาชาติแห่งประเทศไทย (นิติบุคคล โดยมูลนิธิ RDS ประเทศไทย) 2001:44C8:4358:2946:0:0:0:1 16:14, 24 กรกฎาคม 2566 (+07)ตอบกลับ