ข้ามไปเนื้อหา

พูดคุย:วัดท่าถนน (จังหวัดอุตรดิตถ์)

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ธงพระธรรมจักร
ธงพระพุทธศาสนาสากล
วัดท่าถนน (จังหวัดอุตรดิตถ์) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิพระพุทธศาสนา และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมเรื่องทุกอย่างเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ถ้าต้องการมีส่วนร่วมโครงการ สามารถเข้าร่วมได้ที่หน้าโครงการ
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
วัดท่าถนน (จังหวัดอุตรดิตถ์) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ วัดท่าถนน (จังหวัดอุตรดิตถ์) หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

เนื้อหาบางส่วน

[แก้]

บทความนี้ นำข้อความบางส่วนมาจากเว็บไซต์หรือสื่ออื่น หอมรดกไทย ซึ่งเจ้าของเว็บไซต์หรือสื่อดังกล่าว อนุญาตให้เผยแพร่ต่อได้ โดยไม่สงวนลิขสิทธิ์


ตามแผนที่ระวาง ๔ ฏ ๑:๔ooo แสดงเขต ที่ตั้งพระอุโบสถเก่า (ชำรุด) (หลวงพ่อเพชร) ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ยืนยันถึงความมีตัวตนของขอบเขตสถานที่ว่าอุโบสถเก่าที่มีการตั้งป้ายเก่าของอุโบสถที่ระบุปีที่สร้าง พ.ศ. ๒o๑๙ ซึ่งเป็นพื้นที่ของวัดไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบันตามการทำบันทึกส่งมอบกรรมสิทธิ์ที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ทะเบียนเลขที่ ๑๙๙ เล่ม ๒ ข. หน้า ๔๙ เลขที่ดิน ๔ โดยนางหนุน แก้วกุลศรี ให้แก่วัดไผ่ล้อมเมื่อวันที่ 27 ก.ค. 2543 มีพยายานรับรู้คือคณะกรรมการบริหารชุมชนอนุรักษ์พิทักษ์พระพุทธสถานอุโบสถเก่า มีหลวงตาเตชะปัญโญ (นามเดิม นายสังเวียน คงนุ่น)เป็นผู้ดูแลพื้นที่ดังกล่าว ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2546 และยังมีหลักฐานสำคัญคือจดหมายสอบถามความจากกรมราชเลขานุการ พระราชทานมา วันที่ ๖ มิ.ย. ร.ศ.๑o๙ รับวันที่ 30 พ.ค. ร.ศ.๑๑๙ กรมหลวงดำรง ที่ ๑๑๗ ลงวันที่ ๒๙ พ.ค. ร.ศ. ๑๑๙ ข้อความเขียนว่า “ได้มีโทรเลขถามตำนานพระขัดสมาธิเพดวัดเตาหม้อ ได้ความเดิมอยู่วัดวัดไผ่ล้อม เจ้าอธิการวัดหมอนใหม่อาราธนามาไว้ที่วัดเตาหม้อ จนถึงฟ้องร้องกันลงมาที่เมืองพิไชยตัดสินว่าความบำรุงรักษาวัดเดิมสู้วัดเตาหม้อไม่ได้จึงให้คงอยู่วัดเตาหม้อตลอดมา และพระยาศรีสุริยาราชวรานุวัตรได้พบพระขัดสมาธิเพดน่าตัก ๒ ศอก ๖ นิ้ว จะได้ส่งลงมาทูลเกล้า ถวายในเร็ว ๆ นี้” ทั้งมวลจึงเป็นหลักฐานที่จะแสดงได้ว่าที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์ดังกล่าวเป็นสถานที่ตั้งเดิมขององค์หลวงพ่อเพ็ชร --ผู้ใช้Tmd | พูดคุย 14:46, 8 กรกฎาคม 2558 (ICT)