จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พื้นที่ที่มีการใช้ภาษาเขมรเหนือในส่วนจังหวัดร้อยเอ็ดนั้นไม่ถูกต้อง หากพิจารณาจากวัฒนธรรมอื่นๆ ประกอบร่วมกับภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร แม้กระทั่งจังหวัดสุรินทร์เองก็ไม่ได้ใช้ภาษาเขมรครอบคลุมทั้งจังหวัด ที่ใช้ภาษาเขมรจะเป็นผู้ที่สืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษที่มีที่อยู่ในบริเวณไม่ไกลกันมากนัก เพราะเดิมคนเขมรเหนือไม่นิยมแต่งงานกับคนนอกวัฒนธรรมมากนัก เพราะมักได้รับการตำหนิจากชนกลุ่มเดียวกัน
นอกจากนี้ยังนิยมรับประทานข้าวเจ้าเป็นหลัก ไม่รับประทานปลาร้าแบบที่ชาวอิสานส่วนใหญ่รับประทานกัน ตลอดจนมีประพณีวัฒนธรรมที่ต่างจากชาวไทยอิสาน(ลาว)อยู่มาก รวมทั้งการดำรงชีวิตก็แตกต่างกันค่อนข้างมาก
ในเรื่องภาษานั้น พื้นที่ที่มีการภาษาเขมรเหนือของจังหวัดสุรินทร์ ได้แก่ อ.เมืองสุรินทร์ อ.ปราสาท อ.กาบเชิง อ.สังขะ อ.ลำดวน อ.ศรีขรภูมิ(บางส่วนใช้ภาษาส่วย) อ.จอมพระ(บางส่วน) ส่วนประชาชนในอาศัยอยู่ตามที่ราบลุ่มแม่น้ำมูลนั้นจะใช้ภาษาไทยอิสาน(ลาว) รับประทานข้าวเหนียว
เรื่องนี้ข้าพเจ้าเป็นผู้ที่กำเนิดจากถิ่นที่อยู่ยืนยันได้ และมีหน้าที่การงานและศึกษาการใช้ชีวิตของชนกลุ่มนี้ละแวกลุ่ทน้ำมูลทั่วไป
หนังสือที่สามารถยืนยันได้ คือ ศิลปวัฒนธรรม และหนังสือที่เขียนโดย อ.ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม
- ยกมาจากในบทความ-ธวัชชัย 01:08, 12 กรกฎาคม 2007 (UTC)
เขามีการสำรวจมาแล้วว่าจังหวัดไหนมีคนพูดบ้าง --奥虎 ボンド 07:54, 5 สิงหาคม 2564 (+07)ตอบกลับ
- ↑ "burirum.xls" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
- ↑ http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/chanburifn.pdf
- ↑ "mahakam.xls" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
- ↑ http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/roietfn.pdf
- ↑ (PDF) http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/sakaeofn.pdf. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
- ↑ (PDF) http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/srisaketfn.pdf. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
- ↑ (PDF) https://web.archive.org/web/20120215221927/http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/surinfn.pdf. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-02-15. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.
- ↑ http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/tratfn.pdf
- ↑ (PDF) http://web.nso.go.th/pop2000/finalrep/ubonfn.pdf. สืบค้นเมื่อ 2017-03-08.