จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาเจ๊ะเหยังไม่ทราบว่าใครเป็นผู้ตั้งชื่อนี้ ความจริงรากศัพท์ที่ใช้พูดเป็นคำไทยแท้เหมือนคำไทยแท้ที่มีใช้ในภาคใต้และภาคกลางโดยทั่วไป มีคนพยายามสันนิษฐานว่าชนกลุ่มนี้เป็นพวกเขมร ซึ่งเป็นคำสันนิษฐานที่เลื่อนลอย เพ้อเจ้ออย่างสิ้นดี ถ้าชนกลุ่มนี้เป็นพวกเขมร ชนชาติไทยทั้งหมดคงเป็นสายพันธุ์ที่มาจากเขมรกันทั้งนั้น นอกจากนี้ภาถิ่นไทยใต้ก็มีรากศัพท์ที่เหมือนกับภาษาไทยโดยทั่วไป ไม่สามารถแยกกันออกมาได้อย่างเด็ดขาด ภาเจ๊ะเหจึงไม่ใช่สาขาของภาษาไทยใต้ แต่เป็นภาษาของคนไทยดั้งเดิม นอกจากนี้ยังมีรากศัพท์ที่เหมือนภาษาไทยอิสานอีกด้วย อย่างน้อยก็3ภาคแล้วที่มีรากศัพท์คล้ายหรือเหมือนกัน ถ้าฟังคนภาคเหนือคุยกันก็จะพบว่ามีรากศัพท์ที่พบคล้ายหรือเหมือนภาษาเจ๊ะเหมากกว่าภาคอิสานอีก เรื่องนี้คนไทยควรจะรู้จักเทือกเถาเหล่ากอตัวเองให้มากกว่านี้ --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ 203.147.0.44 (พูดคุย • หน้าที่เขียน)
- กรุณานำเสนอแต่ข้อเท็จจริงที่สามารถอ้างอิงได้ครับ อย่าวิจารณ์เอาเอง --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 22:00, 6 กุมภาพันธ์ 2551 (ICT)
- คุณ เเน่ใจได้อย่างไร ที่มากล่าว คำพูดดังกล่าวในข้างต้น ภาษาเจ๊ะเหเป็นภาษาไทยเดิม โดยเเบ่งออกจากภาษาใต้ออกมา โดยคำต่างๆจะคล้ายกับภาษาใต้แต่บางคำจะเป็นศัพย์เฉพาะนะครับเช่น กือหดาย แปลว่า งก กือ เป็นศัพย์สร้อยของภาษาเจ๊ะเห นะครับ เวลาที่จะเรียกชื่อ เพื่อนๆพี่ๆน้องๆ เช่น เรียน พี่อิ๋ว จะเรียนว่า กืออิ๋ว อะไรประมาณนี้นะครับ อย่าเข้าใจผิดนะครับ --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ 125.24.46.23 (พูดคุย • หน้าที่เขียน)