พูดคุย:ประเทศฟีจี
เพิ่มหัวข้อ
|
|
การเปิดดูหน้าเว็บประจำวันของ ประเทศฟีจี
กราฟควรแสดงอยู่ที่นี่แต่กราฟถูกปิดใช้งานชั่วคราว จนกว่ากราฟจะเปิดใช้งานอีกครั้ง ดูกราฟเชิงโต้ตอบที่ pageviews.wmcloud.org |
ฟิจิ vs ฟีจี
[แก้]ควรจะใช้ชื่อ "ฟิจิ" ตาม ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง พ.ศ. 2544 http://www.royin.go.th/?page_id=639 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 26 พ.ย. 2544 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/117/2.PDF ---- bact' 00:38, 9 กุมภาพันธ์ 2560 (ICT)
- ราชบัณฑิตยสถานให้ใช้ "ฟิจิ" แต่สำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้ว่า "ฟีจี" นะครับ [1] --Potapt (พูดคุย) 03:01, 9 กุมภาพันธ์ 2560 (ICT)
- ราชบัณฑิตยสถาน แตกต่างจาก สำนักงานราชบัณฑิตยสภา อย่างไร? --Ans (พูดคุย) 16:41, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ผมเข้าใจว่าเป็นองค์กรเดียวกัน --Ans (พูดคุย) 16:42, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- ราชบัณฑิตยสถาน เปลี่ยนชื่อเป็น สำนักงานราชบัณฑิตยสภา เมื่อ พ.ศ. 2558 [2] --Potapt (พูดคุย) 16:48, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ผมเข้าใจว่า app ของราชบัณฑิตยสภา น่าจะทำมาผิด --Ans (พูดคุย) 17:06, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ทำไมถึงเข้าใจอย่างนั้นครับ เนื้อหาในแอปพลิเคชันนั้นมีข้อบกพร่องแน่นอน แต่ผมคิดว่าไม่ใช่กับชื่อประเทศนี้ครับ --Potapt (พูดคุย) 17:11, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ผมเข้าใจว่า app ของราชบัณฑิตยสภา น่าจะทำมาผิด --Ans (พูดคุย) 17:06, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ราชบัณฑิตยสถาน เปลี่ยนชื่อเป็น สำนักงานราชบัณฑิตยสภา เมื่อ พ.ศ. 2558 [2] --Potapt (พูดคุย) 16:48, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ผมเข้าใจว่าเป็นองค์กรเดียวกัน --Ans (พูดคุย) 16:42, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- ราชบัณฑิตยสถาน แตกต่างจาก สำนักงานราชบัณฑิตยสภา อย่างไร? --Ans (พูดคุย) 16:41, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ราชบัณฑิตยสถานให้ใช้ "ฟิจิ" แต่สำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้ว่า "ฟีจี" นะครับ [1] --Potapt (พูดคุย) 03:01, 9 กุมภาพันธ์ 2560 (ICT)
แม้ผมจะเห็นด้วยว่าให้ใช้ ฟิจิ, แต่ผมไม่เห็นด้วยที่จะต้องยึดตามมาตรฐานของราชการเสมอไป. กรณีนี้ผมเห็นด้วยเพราะ ฟิจิ เป็นคำทับศัพท์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป, ไม่ใช่เพราะ ราชบัณฑิตฯ กำหนด. แม้สมมุติว่า ราชบัณฑิตฯ จะกำหนดให้ใช้ ฟีจี, ผมก็ยังเห็นควรให้ใช้ตามแบบที่ยอมรับโดยทั่วไปคือ ฟิจิ มากกว่า. --Ans (พูดคุย) 17:06, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- อันนั้นก็เป็นคนละประเด็นกับประเด็นที่คุณ bact' เปิดทิ้งไว้ครับ --Potapt (พูดคุย) 17:11, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- คนละประเด็น แล้วใช้เป็นเหตุผลไม่ได้หรือครับ? ผมยกขึ้นมาเป็นเหตุผลในการใช้ชื่อนี้. แต่ถ้ามองว่าประเด็นคือทำไมจึงควรใช้ชื่อนี้, ผมก็ยกเหตุผลว่าทำไมจึงควร, ซึ่งก็ยังอยู่ในประเด็น --Ans (พูดคุย) 17:30, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ก็ที่คุยกันมาตั้งแต่แรกนั่นยังอยู่ในหลักการตั้งชื่อบทความของวิกิพีเดีย:โครงการวิกิประเทศ ถ้าจะนอกประเด็นก็เปิดหัวข้อใหม่สิครับ --Potapt (พูดคุย) 17:35, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- หัวข้อนี้ไม่ได้ระบุในหัวข้อว่า จะต้องอภิปรายในขอบเขต หลักการตั้งชื่อบทความของวิกิพีเดีย:โครงการวิกิประเทศ เท่านั้นนี่ครับ. หัวข้อตั้งไว้กว้างๆ ว่าควรใช้ชื่อไหน, และคุณ bact ก็ยกเหตุผลว่าทำไมควรใช้ชื่อนี้, และผมก็คิดว่าคนตั้งหัวข้อ (คุณ bact) ก็ไม่ได้จำกัดว่า ผู้อื่นจะเสนอเหตุผลอื่น นอกเหนือจากหลักการที่คุณ bact เสนอ ไม่ได้. --Ans (พูดคุย) 17:54, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ในหน้าอภิปรายนี้ รวมทั้งในหน้าวิกิพีเดีย:ศาลาชุมชน/อภิปราย/ขอเปลี่ยนชื่อบทความประเทศฟิจิ คุณ bact' เขียนไว้เองว่า "ควรจะใช้ชื่อ ... ตามประกาศราชบัณฑิตยสถาน" โดยไม่ได้อ้างเหตุผลอื่นไว้เพิ่มเติม ซึ่งถ้าจะเสนอเหตุผลอื่นประกอบ (เช่น ความนิยม) ก็จะขัดกับหลักการตั้งชื่อบทความประเทศ และจะกระทบกับชื่อเขตการปกครองอื่นอีกด้วย ผมเข้าใจว่าคุณ bact' คงทราบดีอยู่แล้ว --Potapt (พูดคุย) 18:01, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- การที่คุณ bact ไม่ได้อ้างเหตุผลอื่น ไม่ได้หมายความว่าคุณ bact ไม่เปิดรับเหตุผลอื่นนี่ครับ. และก็เป็นปกติที่ผู้เสนอเหตุผลมักจะเสนอเฉพาะเหตุผลที่ตนเห็นด้วยเท่านั้น. แต่ผู้อภิปรายที่ไม่เห็นด้วยกับเหตุผลที่เสนอ, ก็ย่อมมีสิทธิ์คัดค้านเหตุผลนั้น. และในการคัดค้านเหตุผลนั้น ผมก็ยกเหตุผลอื่นขึ้นมาอธิบายว่า ควรใช้เหตุผลอื่นมากกว่าเหตุผลนี้, การยกเหตุผลอื่นจึงเป็นส่วนหนึ่งของการคัดค้านเหตุผลเดิม. ถ้าผู้อภิปรายไม่สามารถคัดค้านเหตุผลของผู้ตั้งหัวข้ออภิปรายได้, แล้วจะมีการอภิปรายไปเพื่ออะไรครับ. --Ans (พูดคุย) 18:34, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- อย่างไรก็ตาม หลักการตั้งชื่อบทความประเทศ เขียนไว้ว่า,
- รูปแบบต่อไปนี้เป็นเพียงแนวทางที่แนะนำเท่านั้น รูปแบบในแต่ละบทความอาจมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเนื้อหาบทความและผู้ เขียนบทความนั้น ๆ หากไม่เห็นด้วยและต้องการเปลี่ยนแปลงแนวทาง หรือแนวทางนั้นยังไม่มีการตัดสิน สามารถอภิปรายได้ในหน้าพูดคุย
- การเสนอเหตุผลอื่น จึงไม่ขัดกับ หลักการตั้งชื่อบทความประเทศ
- --Ans (พูดคุย) 18:40, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ในหน้าอภิปรายนี้ รวมทั้งในหน้าวิกิพีเดีย:ศาลาชุมชน/อภิปราย/ขอเปลี่ยนชื่อบทความประเทศฟิจิ คุณ bact' เขียนไว้เองว่า "ควรจะใช้ชื่อ ... ตามประกาศราชบัณฑิตยสถาน" โดยไม่ได้อ้างเหตุผลอื่นไว้เพิ่มเติม ซึ่งถ้าจะเสนอเหตุผลอื่นประกอบ (เช่น ความนิยม) ก็จะขัดกับหลักการตั้งชื่อบทความประเทศ และจะกระทบกับชื่อเขตการปกครองอื่นอีกด้วย ผมเข้าใจว่าคุณ bact' คงทราบดีอยู่แล้ว --Potapt (พูดคุย) 18:01, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- หัวข้อนี้ไม่ได้ระบุในหัวข้อว่า จะต้องอภิปรายในขอบเขต หลักการตั้งชื่อบทความของวิกิพีเดีย:โครงการวิกิประเทศ เท่านั้นนี่ครับ. หัวข้อตั้งไว้กว้างๆ ว่าควรใช้ชื่อไหน, และคุณ bact ก็ยกเหตุผลว่าทำไมควรใช้ชื่อนี้, และผมก็คิดว่าคนตั้งหัวข้อ (คุณ bact) ก็ไม่ได้จำกัดว่า ผู้อื่นจะเสนอเหตุผลอื่น นอกเหนือจากหลักการที่คุณ bact เสนอ ไม่ได้. --Ans (พูดคุย) 17:54, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ก็ที่คุยกันมาตั้งแต่แรกนั่นยังอยู่ในหลักการตั้งชื่อบทความของวิกิพีเดีย:โครงการวิกิประเทศ ถ้าจะนอกประเด็นก็เปิดหัวข้อใหม่สิครับ --Potapt (พูดคุย) 17:35, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- คนละประเด็น แล้วใช้เป็นเหตุผลไม่ได้หรือครับ? ผมยกขึ้นมาเป็นเหตุผลในการใช้ชื่อนี้. แต่ถ้ามองว่าประเด็นคือทำไมจึงควรใช้ชื่อนี้, ผมก็ยกเหตุผลว่าทำไมจึงควร, ซึ่งก็ยังอยู่ในประเด็น --Ans (พูดคุย) 17:30, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- อันนั้นก็เป็นคนละประเด็นกับประเด็นที่คุณ bact' เปิดทิ้งไว้ครับ --Potapt (พูดคุย) 17:11, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- (// )คลิปเสียงนี้เป็นการอ่านการเสียงการออกเสียงชื่อประเทศฟีจีที่ถูกต้อง เพราะฉะนั้นใจเย็นครับเพราะต่างประเทศเค้าใช้คำว่าฟีจีกันเราก็น่าจะใช่คำว่าฟีจี
แล้วเรื่องที่คนอื่นเห็นว่าควรใช้คำว่าฟิจิเพราะคนทั่วไปเข้าจะใช้ อันนี้ผมคิดว่าน่าจะให้วิกิพีเดียเป็นตัวกลางในการเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องเวลามีคนมาหาจะได้รู้ว่านี้ชื่อฟีจีนะไม่ใช่ฟิจิ และยังทำให้หลายคนรู้ชื่อจริงๆของมันและใช้ได้ถูกต้องกันไม่เอาไปใช่แบบผิดๆเหมือนในตอนนี้--โก๋ปอ (พูดคุย) 19:01, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ผมมีความคิด ตามที่ คุณ EZBELLA และคุณ Potapt ครับ แทนที่จะร่วมกันสร้างวิกิพีเดียให้ดียิ่งขึ่น กลับเป็นว่า วิกิพีเดียยิ่งดิ่งลงเหวไปอีก--Tvcccp (cn:Yesona) (Talk) 19:08, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ถ้าอย่างนั้น ทำไมไม่ใช้ ไชน่า(China), เจแปน(Japan), ตามที่ต่างประเทศเค้าใช้กันหละครับ. ชื่อประเทศนั้น แต่ละภาษาอาจมีวิธีการเรียกในภาษาของตนเองแตกต่างกันไป, ไม่มีถูก ไม่มีผิด หรอกครับ. เสียงเรียกชื่อประเทศที่ถูกต้องในภาษาหนึ่ง ไม่ได้หมายความว่าจะถูกต้องในอีกภาษาหนึ่งเสมอไป. สำหรับเสียงอ่านภาษาอังกฤษที่ถูกต้องนั้น ก็มีใส่ในวงเล็บอยู่แล้ว, แม้จะเปลี่ยนชื่อบทความเป็นชื่อ ฟิจิ ผู้อ่านก็สามารถทราบเสียงอ่านภาษาอังกฤษได้จากในวงเล็บอยู่แล้วนี่ครับ. อย่างที่บอกครับว่า ชื่อประเทศหนึ่งๆ ในแต่ละภาษาไม่จำเป็นต้องออกเสียงเรียกเหมือนกัน. เมื่อใช้ภาษาไทย ก็ออกเสียงเรียกเฉพาะในแบบภาษาไทย, แต่ก็ควรรู้ว่าเมื่อใช้ภาษาอื่น(เช่นภาษาอังกฤษ) จะต้องออกเสียงอย่างไรในภาษานั้น เหมือนคำว่า ญี่ปุ่น กับ เจแปน ไงครับ. --Ans (พูดคุย) 20:13, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- @Ans: ความคิดคุณเป็นความคิดที่น่ากลัว ล้าหลัง และชุ่ยมากๆครับ มีแต่จะทำให้วิกิพีเดียถอยหลังเข้าคลอง ไม่น่าเชื่อว่าจะเจอคนคิดแบบนี้ ทั้งๆที่รัฐบาลกำลังส่งเสิรมความสามัคคีและความสงบในสังคม คุณกลับมีความคิดที่สวนทางโดยการบอกว่า ไทยไม่ต้องสนชาวโลก ไทยพอจใจจะเขียนยังไงก็เขียนได้ แล้วเราจะอยู่ในสังคมโลกเขาได้ยังไงครับ ความคิดคุณจะทำให้ประเทศอื่นเขาดูถูกไทยเรา แล้วจะทำให้สังคมแตกแยกนะครับ ความคิดแบบนี้ไม่ต้องบอกก็รู้ว่าเป็นเสื้อแดง ผมเตือนด้วยความหวังดีขอให้เลิกเถอะครับการเป็นเสื้อแดง กลับตัวกลับใจ ไม่มีใครในวิกิพีเดียที่เขาชอบเสื้อแดงสักคน คุณจะอยู่ลำบากนะครับ --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 92.63.100.80 (พูดคุย | ตรวจ) 20:51, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- (คห. นี้เดิมถูกลบออก เนื่องจากมีการแอบอ้างลายเซ็นของผู้ใช้อื่น. แต่สมควรเรียกคืน โดยลบเฉพาะลายเซ็นที่ถูกแอบอ้างออก, เนื่องจาก มีการอธิบายเหตุผลที่อยู่ในประเด็นอภิปราย ที่ต้องได้รับการรับฟัง) --Ans (พูดคุย) 17:20, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- @Ans: ความคิดคุณเป็นความคิดที่น่ากลัว ล้าหลัง และชุ่ยมากๆครับ มีแต่จะทำให้วิกิพีเดียถอยหลังเข้าคลอง ไม่น่าเชื่อว่าจะเจอคนคิดแบบนี้ ทั้งๆที่รัฐบาลกำลังส่งเสิรมความสามัคคีและความสงบในสังคม คุณกลับมีความคิดที่สวนทางโดยการบอกว่า ไทยไม่ต้องสนชาวโลก ไทยพอจใจจะเขียนยังไงก็เขียนได้ แล้วเราจะอยู่ในสังคมโลกเขาได้ยังไงครับ ความคิดคุณจะทำให้ประเทศอื่นเขาดูถูกไทยเรา แล้วจะทำให้สังคมแตกแยกนะครับ ความคิดแบบนี้ไม่ต้องบอกก็รู้ว่าเป็นเสื้อแดง ผมเตือนด้วยความหวังดีขอให้เลิกเถอะครับการเป็นเสื้อแดง กลับตัวกลับใจ ไม่มีใครในวิกิพีเดียที่เขาชอบเสื้อแดงสักคน คุณจะอยู่ลำบากนะครับ --ความเห็นที่มิได้ลงชื่อโดย 92.63.100.80 (พูดคุย | ตรวจ) 20:51, 25 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- อย่างที่คุณว่ามามันก็จริงอยู่ครับแต่ส่วนมาชื่อประเทศอื่นๆในภาษาไทยนั้นเป็นการทับศัพย์มาจากภาษาอังกฤษ ซึ่งในเมื่อเป็นคำทับศัพย์มาจากภาษาอังกฤษก็ต้องทำให้อ่านออกเสียงถูกตามภาษาที่ยืมมาไม่ใช้หรอครับ และมันก็มีแค่ไม่กี่ประเทศที่ตั้งชื่อเฉพาะขึ้นมาใหม่เช่นจีน,กัมพูชา,ญี่ปุ่น และอีกอย่างในเมื่อชื่อภาษาไทยเขียนว่าฟิจิ(อังกฤษ: Fiji, ออกเสียง: /ˈfiːdʒiː/; ฟีจี: Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी)คนที่เข้ามาอ่านและหาข้อมูลเค้าก็จะเรียกว่าฟิจิเนื่องเค้าไม่เอาเวลามานั้นสนใจกันหรอกครับว่าในวงเล็บมันอ่านออกเสียงยังไง --โก๋ปอ (พูดคุย) 21:07, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- หรือเอาง่ายๆคล้าย ชื่อประเทศเดนมาร์กในภาษาเดนมาร์กและอังกฤษครับ (เดนมาร์ก: Danmark,อังกฤษ: Denmark)--Tvcccp (cn:Yesona) (Talk) 21:14, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- (1) ข้อความที่คุณ Ans ยกมานั้น เขียนไว้เช่นกันว่า หากไม่เห็นด้วยและต้องการเปลี่ยนแปลงแนวทาง หรือแนวทางนั้นยังไม่มีการตัดสิน สามารถอภิปรายได้ในหน้าพูดคุย เพราะฉะนั้น การที่คุณใส่ความเห็นของคุณแล้วเปลี่ยนโดยไม่รอความเห็นของคนอื่น ก็ไม่ถูกต้องเช่นกันครับ และผมไม่ได้ห้ามการอภิปรายครับ แต่ขอให้ไปตั้งหัวข้อใหม่แยกต่างหากแค่นั้น เพราะอย่างที่บอกว่า ถ้าคุณจะยกเหตุความนิยมขึ้นมาเพื่อขอเปลี่ยนชื่อ มันก็กระทบกับการตั้งชื่อบทความเขตการปกครองอื่น ๆ เช่นกัน
- (2) "จีน" กับ "ญี่ปุ่น" เป็นชื่อที่ไทยเรียกมาแต่โบราณ และมีอยู่ในพจนานุกรมภาษาไทยอยู่แล้วครับ เพราะฉะนั้นจึงถือว่าเป็นคำไทยแล้ว ไม่จำเป็นต้องทับศัพท์ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ แต่ Fiji ไม่ได้อยู่ในเกณฑ์นี้ครับ ถ้าไปถามคนไทยหลาย ๆ คนคงยังไม่รู้เลยว่าตั้งอยู่แถวไหน --Potapt (พูดคุย) 22:03, 25 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ผมอภิปรายในหัวข้อนี้ก็ถูกแล้วนี่ครับ, อย่างที่อธิบายไปแล้ว, โปรดอ่านซ้ำอีกครั้ง,
- และในการคัดค้านเหตุผลนั้น ผมก็ยกเหตุผลอื่นขึ้นมาอธิบายว่า ควรใช้เหตุผลอื่นมากกว่าเหตุผลนี้, การยกเหตุผลอื่นจึงเป็นส่วนหนึ่งของการคัดค้านเหตุผลเดิม.
- การคัดค้านเหตุผลของผู้ตั้งการอภิปราย ก็ต้องอยู่ในหัวข้ออภิปรายเดียวกัน, จะไปแยกหัวข้อได้อย่างไรครับ.
- --Ans (พูดคุย) 17:06, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ก็แยกโดยเจาะจงไปว่าต้องการย้ายเพราะจะยกเหตุผลความนิยมไงครับ ผมก็บอกไปแล้วเหมือนกันว่าประเด็นที่คุณ bact' เสนอนั้นยังอยู่ในหลักการตั้งชื่อบทความ และคุณ bact' ไม่ได้เสนอเหตุผลอื่น ลองอ่านซ้ำดู --Potapt (พูดคุย) 17:10, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ชื่อหัวข้อในนี้ ไม่ได้บอกว่าต้องจำกัดประเด็นเฉพาะหลักการที่คุณ bact เสนอ. ส่วนที่คุณ bact เขียนในศาลาชุมชนนั้น ก็เป็นส่วนของศาลาชุมชน ถ้าในศาลาชุมชนนั้นหัวข้อจำกัดประเด็นอภิปราย ก็แสดงว่าหัวข้อนั้นต้องการจำกัดประเด็นอภิปรายในศาลาชุมชน จึงควรตั้งหัวข้อใหม่เฉพาะในศาลาชุมชน. แต่หัวข้อในหน้านี้ตั้งหัวข้ออภิปรายไว้กว้างกว่าในศาลาชุมชน, จึงสามารถยกเหตุผลอื่นได้ภายในหัวข้อเดียวกัน ไม่ต้องเปิดหัวข้อใหม่. --Ans (พูดคุย) 17:32, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ตามปกติคงไม่มีใครเขียนหัวข้อให้ยาวเหยียด เพราะสามารถอธิบายเพิ่มเติมได้อยู่แล้ว ชื่อหัวข้ออาจจะจำกัดหรือไม่จำกัดประเด็นก็ได้ครับ ไม่มีใครทราบนอกจากตัวคุณ bact' เอง แต่ในเมื่อ คุณ bact' อธิบายเหตุผลประกอบนอกหัวข้อแล้วมีอยู่เพียงแค่นั้น ก็ควรจะคุยเพียงแค่นั้นครับ --Potapt (พูดคุย) 17:42, 26 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- แค่ไหนคือแค่นั้นครับ? คุณ bact บอกว่า ควรจะใช้ชื่อ "ฟิจิ" ตาม ประกาศราชบัณฑิตยสถาน, ผมก็คัดค้านว่า ไม่ควรใช้ตามประกาศฯ เสมอไป, แล้วมันนอกประเด็นอย่างไรครับ?
- แค่ไหนจึงเรียกว่าอยู่ในประเด็นครับ?
- ต้องคุยตามแนววิกิพีเดีย:โครงการวิกิประเทศ จึงจะถือว่าอยู่ในประเด็นของคุณ bact?
- หรือต้องยึดตามประกาศราชบัณฑิตฯ เท่านั้น จึงจะถือว่าอยู่ในประเด็นของคุณ bact?
- หรือต้องยึดตามราชกิจจานุเบกษาเท่านั้น จึงจะถือว่าอยู่ในประเด็นของคุณ bact? ถ้าจะยึดตามที่อื่น เช่น app ของราชบัณฑิตยสภา ถือว่านอกประเด็น? หรือถ้ายึดตามประกาศราชบัณฑิตฯ ที่ไม่ใช่ในราชกิจจานุเบกษา ถือว่านอกประเด็น?
- ถ้าคุณบอกว่าเสนอแค่ไหนก็ควรคุยแค่นั้น, ถ้าอย่างนี้ผมก็บอกได้ว่า เหตุผลของคุณ potapt นั้นนอกเหนือจากที่คุณ bact เสนอ. เพราะคุณ bact เสนอเฉพาะประกาศราชยัณฑิตฯ ในราชกิจจานุเบกษา ไม่ได้เสนอ app ของราชบัณฑิตยสภา, ถ้าคุณจะเสนอให้ใช้ตาม app นั้นก็ต้องตั้งหัวข้อใหม่, หรือเปล่าครับ?
- --Ans (พูดคุย) 18:39, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ตามข้อ 1. ครับ ที่คุณ bact' เสนอก็ยังอยู่ในแนวของโครงการวิกิประเทศ และราชบัณฑิตยสถานกับสำนักงานราชบัณฑิตยสภาก็คือหน่วยงานเดียวกันตามที่ได้บอกไปแล้ว ที่ผมบอกว่านอกประเด็นก็หมายถึงคุณ bact' ไม่ได้บอกว่า ควรใช้ตามความนิยมหรือไม่ เป็นต้น เพราะนั่นไม่ใช่ข้อกำหนดเบื้องต้นตามหลักการตั้งชื่อ --Potapt (พูดคุย) 19:04, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ที่ผมบอกว่านอกประเด็นก็หมายถึงคุณ bact' ไม่ได้บอกว่า ควรใช้ตามความนิยมหรือไม่ <-- เช่นเดียวกันครับ ถ้าใช้ logic นี้, การใช้ชื่อจาก app ของราชบัณฑิตยสภาก็สามารถมองว่านอกประเด็น ได้เหมือนกันครับ, เพราะคุณ bact ไม่ได้บอกว่าควรใช้ตาม app นั้นหรือไม่, คุณ bact ได้บอกเจาะจงมาเลยว่าควรใช้ตาม pdf ที่เป็นประกาศของราชบัณฑิตฯ กับราชกิจจานุเบกษา
- จริงๆ ก็ ไม่มีตรงไหน(ในส่วนที่เปิดการอภิปรายนี้)ที่บอกว่าต้องคุยตาม ข้อกำหนดเบื้องต้นตามหลักการตั้งชื่อ จึงจะอยู่ในประเด็นนี้
- --Ans (พูดคุย) 20:17, 26 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- ตามข้อ 1. ครับ ที่คุณ bact' เสนอก็ยังอยู่ในแนวของโครงการวิกิประเทศ และราชบัณฑิตยสถานกับสำนักงานราชบัณฑิตยสภาก็คือหน่วยงานเดียวกันตามที่ได้บอกไปแล้ว ที่ผมบอกว่านอกประเด็นก็หมายถึงคุณ bact' ไม่ได้บอกว่า ควรใช้ตามความนิยมหรือไม่ เป็นต้น เพราะนั่นไม่ใช่ข้อกำหนดเบื้องต้นตามหลักการตั้งชื่อ --Potapt (พูดคุย) 19:04, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ตามปกติคงไม่มีใครเขียนหัวข้อให้ยาวเหยียด เพราะสามารถอธิบายเพิ่มเติมได้อยู่แล้ว ชื่อหัวข้ออาจจะจำกัดหรือไม่จำกัดประเด็นก็ได้ครับ ไม่มีใครทราบนอกจากตัวคุณ bact' เอง แต่ในเมื่อ คุณ bact' อธิบายเหตุผลประกอบนอกหัวข้อแล้วมีอยู่เพียงแค่นั้น ก็ควรจะคุยเพียงแค่นั้นครับ --Potapt (พูดคุย) 17:42, 26 พฤษภาคม 2560 (ICT)
- ชื่อหัวข้อในนี้ ไม่ได้บอกว่าต้องจำกัดประเด็นเฉพาะหลักการที่คุณ bact เสนอ. ส่วนที่คุณ bact เขียนในศาลาชุมชนนั้น ก็เป็นส่วนของศาลาชุมชน ถ้าในศาลาชุมชนนั้นหัวข้อจำกัดประเด็นอภิปราย ก็แสดงว่าหัวข้อนั้นต้องการจำกัดประเด็นอภิปรายในศาลาชุมชน จึงควรตั้งหัวข้อใหม่เฉพาะในศาลาชุมชน. แต่หัวข้อในหน้านี้ตั้งหัวข้ออภิปรายไว้กว้างกว่าในศาลาชุมชน, จึงสามารถยกเหตุผลอื่นได้ภายในหัวข้อเดียวกัน ไม่ต้องเปิดหัวข้อใหม่. --Ans (พูดคุย) 17:32, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ก็แยกโดยเจาะจงไปว่าต้องการย้ายเพราะจะยกเหตุผลความนิยมไงครับ ผมก็บอกไปแล้วเหมือนกันว่าประเด็นที่คุณ bact' เสนอนั้นยังอยู่ในหลักการตั้งชื่อบทความ และคุณ bact' ไม่ได้เสนอเหตุผลอื่น ลองอ่านซ้ำดู --Potapt (พูดคุย) 17:10, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ผมอภิปรายในหัวข้อนี้ก็ถูกแล้วนี่ครับ, อย่างที่อธิบายไปแล้ว, โปรดอ่านซ้ำอีกครั้ง,
- ใช่ครับ ไม่มีตรงไหนบอกว่าทุกคนต้องคุยตามหัวข้อที่ผู้เปิดประเด็นเสนอมาเป๊ะ ๆ เพราะการออกนอกประเด็นนั้นเกิดขึ้นได้ แต่ในกรณีนี้ ถ้าคุยนอกประเด็นแล้วเกิดข้อตกลงใหม่ มันก็จะไปกระทบบทความอื่นอีกมาก จึงควรเปิดหัวข้อใหม่ให้เป็นกิจจะลักษณะ ส่วนการเสนอข้อมูลจากแอปพลิเคชันนั้น ผมไม่เห็นว่านอกประเด็น เพราะคุณ bact' บอกว่าใช้ตามประกาศซึ่งมีที่มาจากราชบัณฑิตฯ ผมก็เสนอข้อมูลจากราชบัณฑิตฯ เช่นกัน ถึงจะเปลี่ยนชื่อไป แต่ข้อมูลเหล่านั้นก็มีที่มาจากหน่วยงานซึ่งโดยพื้นฐานแล้วเป็นหน่วยงานเดียวกัน และตามปกติ วิกิพีเดียก็มีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่แล้ว
- สมมุติว่าข้อมูลจากแอปพลิเคชันที่ผมแสดงไว้นั้นไม่ตรงประเด็นอย่างที่คุณ bact' ได้ตั้งใจไว้ และสมมุติว่าโดยส่วนตัวคุณ bact' ไม่ต้องการใช้ตัวสะกดจากสิ่งพิมพ์อื่นอีกนอกเหนือจากประกาศฉบับนั้น (แม้ในอนาคตจะมีสิ่งพิมพ์หรือประกาศที่เกี่ยวข้องใหม่ ๆ ออกมาอีกก็ตาม ?) เหตุใดจึงไม่อธิบายเพิ่มเติมแม้จะได้กลับมาแก้ไขอีกหลายครั้ง และเหตุใดจึงต้องนำเหตุผลนั้นมาปรับใช้เป็นการพิเศษกับชื่อประเทศนี้ (โดยไม่อธิบายเพิ่มเติม ให้คนอื่นตีความเอาเอง) เนื่องจาก "ฟีจี" ก็เป็นเพียงหนึ่งในชื่อเขตการปกครองหลาย ๆ ชื่อที่ผ่านการปรับเปลี่ยนตัวสะกดมาโดยตลอดในวิกิพีเดีย --Potapt (พูดคุย) 20:42, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- (แม้ในอนาคตจะมีสิ่งพิมพ์หรือประกาศที่เกี่ยวข้องใหม่ ๆ ออกมาอีกก็ตาม ?) <-- ไม่ถึงกับต้องสมมุติว่า คุณ bact จะยอมรับเฉพาะประกาศฉบับนั้น ณ วันที่นั้นหรอกครับ, แค่สมมุติว่า คุณ bact ยอมรับเฉพาะประกาศที่ลงในราชกิจจานุเบกษา เท่านั้น แต่ไม่จำเป็นต้องเป็นประกาศของวันนั้น, แต่คุณ bact อาจยอมรับฉบับล่าสุด, ถ้าราชกิจจาฯ มีประกาศที่ใหม่กว่า
- เหตุใดจึงไม่อธิบายเพิ่มเติมแม้จะได้กลับมาแก้ไขอีกหลายครั้ง <-- ถ้าจะใช้ logic นี้นะครับ, ถ้าสมมุติว่า การไม่เข้ามาชี้แจงเพิ่มเติม หมายความว่า ประเด็นนั้นเข้าประเด็นที่คุณ bact ต้องการ, แต่ ณ วันที่คุณเสนอข้อมูลจาก app นั้น, ณ วันนั้นคุณไม่สามารถรู้ล่วงหน้าว่าคุณ bact จะเข้ามาชี้แจงหรือไม่ แล้วคุณรู้ได้อย่างไรว่าที่คุณเสนอนั่นไม่นอกประเด็น. เช่นเดียวกัน, ประเด็นที่ผมเสนอ, ผมเพิ่งจะเสนอไปไม่กี่วัน, ยังไม่รู้เลยว่าคุณ bact จะเข้ามาชี้แจงประเด็นของผมหรือไม่. ถ้าหากนับจากนี้ไปอีกหลายวัน คุณ bact เข้ามาแก้ไขอีกหลายครั้ง, แต่ไม่เข้ามาชี้แจงในประเด็นที่ผมเสนอเลย, ก็จะถือว่าประเด็นของผมนั้นไม่นอกประเด็นของคุณ bact ใช่หรือไม่? ถ้าคุณคิดจะใช้ logic นี้หละก็, ทำไมไม่รอไปอีกหลายวันก่อน จึงค่อยตัดสินว่าประเด็นผมนั้นนอกประเด็นคุณ bact หรือไม่ หละครับ?
- --Ans (พูดคุย) 22:49, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- ที่ผมถามไปนั้นไม่ได้ต้องการคำตอบที่แน่นอนจากคุณอยู่แล้วครับ (เพราะผมก็รู้อยู่ว่าคุณไม่ใช่คุณ bact') แต่เพื่อจะให้เห็นตรงกันว่าเราไม่มีทางรู้อยู่แล้วว่าคุณ bact' จะเปิดกว้างหรือจะจำกัดประเด็นหรือไม่ ดังนั้นจึงไม่เห็นว่าเราจำเป็นจะต้องไปตีความอะไรให้เกินจากที่คุณ bact' เขียนไว้
- คุณ bact อาจยอมรับฉบับล่าสุด, ถ้าราชกิจจาฯ มีประกาศที่ใหม่กว่า --> ก็เข้าใจตรงกันแล้วนะครับไม่มีใครทราบนอกจากคุณ bact' เอง ถ้าคุณ bact' คิดเช่นนั้นก็ควรบอกมา จะได้ถกเถียงกันต่อไปในประเด็นนั้น
- ถ้าสมมุติว่า การไม่เข้ามาชี้แจงเพิ่มเติม หมายความว่า ประเด็นนั้นเข้าประเด็นที่คุณ bact' ต้องการ --> ผมไม่ได้หมายความอย่างนั้นครับ ต่อให้คุณ bact' ไม่ต้องการปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องหรือทันสมัยขึ้น (ซึ่งขัดกับธรรมชาติของวิกิพีเดีย) แม้จะมาจากแหล่งอ้างอิงเดียวกันก็ตาม การที่ผมแก้กลับเป็น "ฟีจี" นั้นก็ยังมีค่าเท่าเดิม คือเป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้นในโครงการวิกิประเทศที่ให้ใช้ตามราชบัณฑิตฯ (ไม่ใช่กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ฯลฯ) ซึ่งอันนี้ไม่เกี่ยวกับนอกประเด็นหรือไม่อย่างไร เพราะคุณ bact' ไม่เข้ามาตอบหรืออธิบายเพิ่มเอง และผมก็รอเขามาระยะเวลาหนึ่งแล้วเช่นกัน หากปล่อยนานกว่านั้น คนอ่านก็จะสับสน เพราะมันกระทบกับหน้าบทความอื่นที่มีชื่อประเทศนี้ด้วย และเขาไม่ได้เปลี่ยนให้สอดคล้องกันครับ --Potapt (พูดคุย) 23:43, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
- สมมุติว่าข้อมูลจากแอปพลิเคชันที่ผมแสดงไว้นั้นไม่ตรงประเด็นอย่างที่คุณ bact' ได้ตั้งใจไว้ และสมมุติว่าโดยส่วนตัวคุณ bact' ไม่ต้องการใช้ตัวสะกดจากสิ่งพิมพ์อื่นอีกนอกเหนือจากประกาศฉบับนั้น (แม้ในอนาคตจะมีสิ่งพิมพ์หรือประกาศที่เกี่ยวข้องใหม่ ๆ ออกมาอีกก็ตาม ?) เหตุใดจึงไม่อธิบายเพิ่มเติมแม้จะได้กลับมาแก้ไขอีกหลายครั้ง และเหตุใดจึงต้องนำเหตุผลนั้นมาปรับใช้เป็นการพิเศษกับชื่อประเทศนี้ (โดยไม่อธิบายเพิ่มเติม ให้คนอื่นตีความเอาเอง) เนื่องจาก "ฟีจี" ก็เป็นเพียงหนึ่งในชื่อเขตการปกครองหลาย ๆ ชื่อที่ผ่านการปรับเปลี่ยนตัวสะกดมาโดยตลอดในวิกิพีเดีย --Potapt (พูดคุย) 20:42, 26 พฤษภาคม 2560 (+07)
กำลังสอบถามไปทางสำนักงานนะครับ ตามอีเมลฉบับนี้
Created on:6 June 2017 at 07:07
To:ripub@royin.go.th
--ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ Bact (พูดคุย • หน้าที่เขียน) 13:13, 6 มิถุนายน 2560 (ICT)
Subject:การสะกดชื่อประเทศ ชื่อเมือง ควรยึดตามหลักเกณฑ์อะไร
สอบถามสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
เนื่องจากขณะนี้มีข้อถกเถียงในวิกิพีเดียภาษาไทย ว่าควรจะสะกดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมือง ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์อย่างไร
ขณะนี้มีแหล่งอ้างอิง 2 แหล่ง ซึ่งมาจากทางราชบัณฑิตยสถาน/สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ทั้งคู่
- ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง พ.ศ. 2544 http://www.royin.go.th/?page_id=639 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 26 พ.ย. 2544 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/117/2.PDF
- แอปพลิเคชัน Royal Society Mobile: ชื่อบ้านนามเมือง ที่ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ร่วมกับสำนักงานราชบัณฑิตยสภา พัฒนา https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-mobile-application/Chuebannammueang-th.html
โดยทั้ง 2 แหล่ง มีข้อมูลที่ขัดแย้งกันอยู่ เช่น กรณีของประเทศ Fiji ที่ ประกาศราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2544 (ซึ่งเป็นฉบับล่าสุด) ให้ใช้ว่า "ฟิจิ" (ใช้สระอิทั้งหมด) ในขณะที่ แอปพลิเคชัน ชื่อบ้านนามเมือง ให้ใช้ว่า "ฟีจี" (ใช้สระอีทั้งหมด)
จึงขอสอบถามทางสำนักงาน ว่าควรอิงตามมาตรฐานใด
คำตอบน่าจะช่วยทำให้ชัดเจนขึ้นว่า ทางฝั่งสำนักงานราชบัณฑิตยสภา มีคำแนะนำอย่างไร
ส่วนวิกิพีเดียไทยจะเลือกแบบไหน ก็แล้วแต่วิกิพีเดียไทยจะพิจารณาข้อมูลที่ได้ และอภิปรายตกลงกันครับ
-- -- bact' 13:10, 6 มิถุนายน 2560 (ICT)
ได้ข้อมูลเบื้องต้นแล้วจากทางเนคเทค ซึ่งได้สอบถามเจ้าหน้าที่จากสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ ได้ความว่า ข้อมูลในแอปชื่อบ้านนามเมืองนั้น ใหม่กว่าประกาศราชบัณฑิตยสถานปี 2544
ส่วนเรื่องเอกสารอย่างเป็นทางการเพื่อยืนยันชี้ขาดว่าให้ใช้อย่างไร ยังรอคำตอบจากทางสำนักงานราชบัณฑิตยสภาอยู่เพื่อการอ้างอิงและแนะนำให้ใช้เป็นการทั่วไปในวิกิพีเดียไทยครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมลองตรวจสอบดู ในเอกสารราชการ เช่นของกระทรวงการต่างประเทศ ที่ออกเมื่อเดือนพ.ค. 2560 ยังใช้การสะกดตามประกาศปี 2544 อยู่ http://www.mfa.go.th/main/th/news3/6886/77983-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1-Thailand-%E2%80%93-Pacific-Island-Countries-Foru.html
และทางเนคเทคได้สอบถามมาด้วย ว่าทางวิกิพีเดียไทยมีอีเมลติดต่อหรือไม่เพื่อจะได้ประสานงานกับทางสำนักงานราชบัณฑิตยสภาต่อไป
-- -- bact' 04:48, 19 มิถุนายน 2560 (ICT)
- ข้อมูลในแอปชื่อบ้านนามเมืองนั้น ใหม่กว่าประกาศราชบัณฑิตยสถานปี 2544 --> อันนี้แน่นอนอยู่แล้วครับ เพราะแอปพลิเคชันเพิ่งออกมาปีที่แล้วเอง
- กระทรวงการต่างประเทศ ที่ออกเมื่อเดือนพ.ค. 2560 ยังใช้การสะกดตามประกาศปี 2544 อยู่ --> กระทรวงการต่างประเทศไม่มีหน้าที่กำหนดการเขียนชื่อประเทศครับ หน้าที่นั้นเป็นของราชบัณฑิตยสถาน/สำนักงานราชบัณฑิตยสภา อย่างไรก็ตาม ในประกาศ เรื่อง กำหนดชื่อประเทศฯ มีข้อความบอกชัดเจนว่า มีผู้แทนจากกระทรวงการต่างประเทศเข้าร่วมพิจารณาการกำหนดชื่อประเทศของราชบัณฑิตยสถาน/สำนักงานราชบัณฑิตยสภาด้วย ก็น่าจะแปลว่ากระทรวงการต่างประเทศควรจะได้รับทราบอยู่แล้ว ที่ยังไม่เปลี่ยนตามนั้นอาจเป็นเพราะยังไม่มีประกาศฉบับใหม่ออกมาอย่างเป็นทางการ แต่ไม่มีเหตุผลอะไรที่จะไม่เปลี่ยน เพราะชื่อที่เปลี่ยนส่วนใหญ่ก็เปลี่ยนให้ใกล้เคียงกับการออกเสียงในภาษาต้นทางมากขึ้น ซึ่งชื่อ "ฟีจี" ก็เป็นหนึ่งในนั้น --Potapt (พูดคุย) 05:35, 19 มิถุนายน 2560 (ICT)