พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ลฮาร์เบอร์
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
ชื่อเดิม | พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ |
---|---|
ก่อตั้ง | 1996 |
ที่ตั้ง | เกาะฟอร์ด, เพิร์ลฮาร์เบอร์, รัฐฮาวาย, สหรัฐอเมริกา |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 21°21′36″N 157°57′42″W / 21.3600°N 157.9617°W |
ประเภท | พิพิธภัณฑ์การบิน |
ผลงาน | การบิน |
ขนาดผลงาน | เครื่องบิน 43 ลำ |
ผู้ก่อตั้ง | จอห์น สเตอร์ลิง[1] |
ผู้อำนวยการ | Elissa Lines[2] |
ภัณฑารักษ์ | Rod Bengston |
ขนส่งมวลชน | โรเบิร์ตส์ ฮาวาย |
เว็บไซต์ | www.pacificaviationmuseum.org |
พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ลฮาร์เบอร์ (เดิมชื่อ พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไร ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1999 เพื่อพัฒนาพิพิธภัณฑ์การบินใน รัฐฮาวาย[3] เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ของวุฒิสมาชิก แดเนียล อินุย เพื่อการบูรณะ เกาะฟอร์ด พิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการทางการบินที่หลากหลายโดยส่วนใหญ่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ และ สงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนแรกของพิพิธภัณฑ์ โรงเก็บเครื่องบิน 37 เปิดพร้อมกับพิพิธภัณฑ์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2006 และจัดแสดงนิทรรศการแบบคงที่ของพิพิธภัณฑ์ โรงเก็บเครื่องบินของพิพิธภัณฑ์แสดงถึงความเสียหายจากการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ ตั้งแต่วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941
พิพิธภัณฑ์เป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับการอนุรักษ์ หนึ่งในการทัศนศึกษารอบเกาะฮาวาย โดยโฟกัสสำคัญในการพยายามที่จะปฏิสังขรณ์หอบังคับการ Ford Island และเซ็นต์สัญญาในการเช่าพื้นที่จากกองทัพเรื่อในการเริ่มขึ้นการซ่อมแซม ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์สามารถเข้าชมโดย รถท่องเที่ยวจากพื้นที่ประวัติศาสตร์เพิร์ลฮาร์เบอร์ บนลานบินHalawa หรือใช้บัตรประจำตัวกองทัพสหรัฐจากประตู Admiral Clarey bridge พิพิธภัณฑ์ได้รับจากความพยายามในการอนุรักษ์อาคารทางประวัติศาสตร์ และยังติดอันดับ 10 พิพิธภัณฑ์ทางการบินจาก TripAdvisor
ประวัติศาสตร์
[แก้]ในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์อากาศยานแปซิฟิก สร้างขึ้นภายในสนามบินนานาชาติฮอนาลูลู หลังจากการกดดันจากหอการค้าฮาวาย เพื่อให้สร้างพิพิธภัณฑ์การบินในฮาวาย ให้สำเร็จ[4] ในเฟสแรกของการเปิดพิพิธภัณฑ์ใน ค.ศ. 1991 โดย Frank Der Yuen.[4] ภายใต้ความคิดที่การเปิดพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพื่อฉลองการครบรอบชัยชนะเหนือญี่ปุ่น ในค.ศ.1995[5] หลังจากเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พิพิธภัณฑ์อากาศยานแปซิฟิกถูกระงับการปิดให้บริการโดยรัฐและถูกเคลื่อนย้ายไปในสองปีต่อมา[4] บางส่วนของส่วนจัดแสดงนำกลับมาโดยมูลนิธิพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิก ซึ่งรับผิดชอบในรายการด้านการศึกษาและทุนการศึกษาอีกด้วย[4]
ก่อนการเสร็จสมบูรณ์ของ สะพานAdmiral Clarey Bridge ในปี ค.ศ.1998 การเข้าสู่เกาะฟอร์ด ทั้งผู้ที่อาศัยและนักท่องเที่ยวต้องเข้าผ่านทางเรือเฟอร์รี่เท่านั้น[5] วุฒิสมาชิก Inouye เสนอให้มี "การฟื้นคืนชีพ" เกาะฟอร์ดโดยใช้งบประมาณ $500,000,000 ดอลล่าส์ผ่านทางกฎหมายพิเศษ 2814 U. S. Code[6] เพื่อให้สิทธิแก่กองทัพเรือในการขายที่ดินเพื่อเป็นกองทุนในการฟื้นฟู [7][8][9] ในพื้นที่ประกอบด้วยบ้านพักอาศัยใหม่ของบุคลากรของกองทัพเรือจำนวน 500 หลัง ศูนย์พัฒนาเด็กแห่งใหม่ เรื่องรับรองกองทัพเรือใหม่ และ พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ล ฮาร์เบอร์[8][9] แต่เดิมพิพิธภัณฑ์ถูกเรียกว่า พิพิธภัณฑ์การบินกองทัพแห่งมหาสมุทรแปซิฟิก[9] มูลนิธิระดมทุนเพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิม $46 million จากหลายแหล่ง ทั้งจาก US รัฐแห่งฮาวาย รัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา และงานราตรีระดมทุนต่างๆ[9][10] ทั้งได้รับการสนับสนุนจาก US นักบินอวกาศกัปตัน Walter Schirra.[9] ในขณะที่เป็นผู้บริหารของSan Diego Air & Space Museum, อลัน ปาล์มเมอร์ถูกจ้างโดยกองทัพอากาศสหรัฐ ให้เข้ามาศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์การบิน และหลังจากนั้นถูกแต่งตั้งให้เป็นประธานบริหารของพิพิธภัณฑ์ในเวลาต่อมา[5][11][12]
การวางศิลาฤกษ์ถูกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2006 ด้วยเงินทุนการก่อสร้าง $75,000,000 ดอลลาร์ในการก่อวร้างพิพิธภัณฑ์[13][14] และเปิดตัวในวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ซึ่งเป็นวันที่ครบรอบ 65 ปี ของการโจมตีท่าเรื่องเพิร์ล ฮาร์เบอร์[15] ประธานพิธีการในวันนั้นคือ ประธานาธิบดีสหรัฐGeorge H.W. Bush, นายพลจัตวากองทัพบก Chuck Yeager, Brigadier General Paul Tibbets.[15] พิพิธภัณฑ์จัดแสดง โรงจอด Hangars 37, 54, และ 79 บน เกาะฟอร์ด กินเนื้อที่ครอบคลุม 16 เอเคอร์[13] ในปี ค.ศ. 2012, พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ ถูกตั้งชื่อว่าสถาบันSmithsonian Institution ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม องค์กรSmithsonian Affiliations [16] ในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2013 พิพิธภัณฑ์ได้รับนักท่องเที่ยวครบ 1 ล้านคน[17]
สิ่งอำนวยความสะดวก
[แก้]เนื่องจากเป็นสถานที่ความสำคัญทางประวัติศาสตร์ เพราะเป็นพื้นที่แรกที่มีการแจ้งเตือนทางวิทยุของ โจมตีท่าเรือเพิร์ล ฮาร์เบอร์attack on Pearl Harbor พิพิธภัณฑ์วางแผนในการใช้งบ $7,500,000 ดอลลาร์ ในการซ่อมแซมหอบังคับการบนเกาะฟอร์ด[18] ซึ่งถูกลงทะเบียนเป็นสิ่งก่อสร้างประเภท 1 แผนอนุรักษ์ฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ใน ค.ศ. 1978 และภายใต้การซ่อมแซมของบริษัท Kiewit Building Group ซึ่งเซ็นต์สัญญารับผิดชอบการสร้างอาคารของพิพิธภัณฑ์ด้วยเช่นกัน[18] หอบังคับการอายุ 70 ปีและสูง 158 ฟุต (48 เมตร) ซึ่งทรุดโทรมจากบันไดเหล็กและลานจอดเครื่องบินที่ขึ้นสนิมซึ่งต้องซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่[19] หลังจากความเห็นชอบจากกระทรวงกลาโหมสหรัฐเพื่อเก็บรักษาและคงเหลือสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ไว้จึงได้มอบทุนแก่พิพิธภัณฑ์จำนวน$3,800,000 ดอลลาร์เพื่อเป็นทุนในขั้นต้นในการเริ่มโครงการ[20] หอบังคับการรวมถึงทางวิ่งเครื่องบินได้รับเลือกให้เป็นโบราณสถานแห่งชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1964[21] ในปี 2010 จากข้อมูลของสภาคองเกส ว่ากระทรวงกลาโหมได้บริจาคเงินเกือบ$449,000 ดอลลาร์เพื่อเพิ่มเงินทุนในการอนุรักษ์หอคอยดังกล่าว[22] โดยมีเสนอมติโดยวุฒิสมาชิกInouye และทำให้มีผู้เห็นชอบมากมายร่วมบริจาค [22] หอบังคับการยังเป็นสถานที่ประกอบในภาพยนตร์เรื่องTora! Tora! Tora! และPearl Harbor.[23]
โรงจอด Hangar 37เป็นโรงจอดเครื่องบินน้ำ ซึ่งเป็นหนึ่งที่เหลือรอดจากการโจมตีท่าเรื่อเพิร์ล ฮาร์เบอร์ และเป็นโรงจอดแรกที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นพิพิธภัณฑ์ [24] พื้นที่ 7.25 เอเคอร์ (2.93 เฮกเตอร์) ประกอบไปด้วย 9 ส่วนจัดแสดง, 1โรงภาพยนตร์, เครื่องบังคับการจำลองการบิน, 1ร้านที่ระลึกและภัตราคาร[14] งบประมาณนการปรับปรุงพื้นที่เป็นเงินถึง $11,000,000 ดอลลาร์และได้เพิ่มขึ้นจากรัฐบาลสนับสนุนและ ผ่านทางการบริจาคจากหน่วยงานในชุมชน [14] ก่อสร้างเมื่อปี1939 และโรงจอด Hangar 79,พื้นที่ 87,000 ตารางฟุด (8,100ตารางเมตร) ได้รับการบูรณะให้คงเป็นโรงจอดแต่ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงมากมายและรวมถึง ส่วนจัดแสดง เครื่องบินflying tigers ส่วนจัดแสดง เครื่องบินMiG Alley เฮลิคอปเตอร์ เครื่องบินและอากาศยานที่ใช้ทางราชการ[25][26][27] ห้องกระจกในโรงจอดยังคงจัดแสดงหลุมระเบิดจากเครื่องบินญี่ปุ่นจากการโจมตีในวันนั้น[27] มูลนิธิTawani Foundation บริจาค $82,500 ดอลลาร์ในการปรับปรุงโรงจอด Hangar 79.[28]
การจัดแสดง
[แก้]ในปี ประธานผู้บริหารของพิพิธภัณฑ์ McDonalds Fred L. Turner สนันสนุนให้บูรณะเครื่องบิน Douglas SBD Dauntless.[29] และจัดแสดงเครื่องบิน Boeing N2S-3 Stearman ที่ประธานาธิบดี George H.W. Bush ใช้ในการฝึกบินและใช้ในการบินเดี่ยวครั้งแรกไว้ในส่วนจัดแสดง[30]
ซากเครื่องบิน Japanese A6M2 Zero "B11-120" ซึ่งบินโดยพลทหารอากาศ Shigenori Nishikaichi ซึ่งบินจาก เรือบรรทุกเครื่องบินHiryu ซึ่ง บินตกที่เกาะ Ni'ihau หลังจากการโจมตีระรอกที่สองของการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร ยังคงเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์[31] ซึ่งมีการแสดงซากเดิมหลังการตก[32] ยังคงเหลือรถแทรกเตอร์ที่ใช้ในการขุดคูดินโดยรอบที่ใช้ป้องกันการลงจอด [31] คูดินนี้ถูกขุดขึ้นหลังจากที่เกาะได้รับการแจ้งเตือนว่าญี่ปุ่นมีแผนจะใช้เกาะเป็นฐานปฏิบัติการ[33]
เครื่องบินญี่ปุ่น A6M2-21 Zero ซึ่งเป็นรุ่นเดียวกับเครื่องบินที่ใช้ในการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ที่ถูกกู้ขึ้นมาในปี1968 และเก็บรักษาใช้สามารถใช้บินได้จริง ในปี 1985.[3] แต่เดิมมันบินจากกลุ่มเครื่องบินญี่ปุ่น 201 จากหมู่เกาะโซโลมอน[30] และขายให้กับ Confederate Air Force เพื่อใช้แสดงทางการบินและต่อมาก็ขายให้กับทางพิพิธภัณฑ์ในปี 2006[3]
ในวันที่ 11 เมษายน2013 ซากเครื่องบินทิ้งระเบิด B-17 bomber มาถึงพิพิธภัณฑ์การบินแปซิซิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ซึ่งเป็นเวลาเกือบ70 ปีหลังจากรอดจากการโจมตีท่าเรือเพิร์ล ฮาร์เบอร์[34] การเก็บรักษาคาดว่าต้องใช้เงินประมาณ $5,000,000 ดอลลาร์[34] เครื่องบินถูกเรียกว่า"Swamp Ghost", ซึ่งคาดการณ์ว่าบินจากHickam Field ในวันที่ 7 ธันวาคม1941 แต่ล่าช้าไปเนื่องจากเครื่องยนต์ขัดข้องถึงสองครั้ง จึงรอดจากการโจมตีดังกล่าว[34] หลังจากนั้นมันได้ใช้ในการทิ้งระเบิดที่ราบวลในวันที่ 22 กุมภาพันธ์1942 โดยหลังการทิ้งระเบิดเครื่องบินถูกโจมตีโดยเครื่องบินจู่โจมญี่ปุ่น 9 ลำแต่สามารถบินกลับฐานได้ ทั้งที่ใบพัดไม่หมุนและตกลงในหนองน้ำ[34][35] ยาวนานถึง 64 ปี ชื่อเล่นนี้เองจึงถูกนำไปใช้ เครื่องช่วยนำทาง[34] มันถูกค้นพบโดย National Geographic ในปี 1992 และความพยายามหลายครั้งในการกู้ซากแต่ไม่ประสบความสำเร็จจนกระทั่งปี 2006 และกลับมายังสหรัฐอเมริกา ในปี 2010.[34] และมันถูกซื้อคืนมาโดยพิพิธภัณฑ์ในปี 2011ซึ่งเป็นแยกส่วนมาทั้งหมด 7 ชิ้นและปัจจุบันยังคงอยู่ภายนอกโรงจอด Hangar 79.[34][35]
ในเดือนมิถุนายน 2012 พิพิธภัณฑ์จัดสร้างภาพสามมิติสูง 10-ฟุต (3.0-เมตร) กว้าง 40 ฟุตเป็นภาพ ยุทธนาวีมิดเวย์.[36] ซึ่งสั่งการโดยประธานผู้บริหาร Turner ซึ่งใช้งบ $400,000 ดอลลาร์ในใช้เวลาถึ3 3 ปีในการก่อสร้างและเสร็จสมบูรณ์โดยนาวิกโยธินสหรัฐ Karl Lau.[36]
Collection
[แก้]- Aeronca Model 65TC
- Bell AH-1 Cobra
- Bell UH-1 Iroquois
- Boeing B-17 Flying Fortress (Swamp Ghost)
- Boeing B-52 Stratofortress (nose section)
- Boeing N2S-3 Stearman
- Convair F102A Delta Dagger
- Curtiss P-40E Warhawk
- Douglas A3D/NTA-3B Skywarrior
- Douglas SBD Dauntless
- General Dynamics F-111C
- Grumman F4F-3 Wildcat
- Grumman F-14D Tomcat
- Lockheed F-104A Starfighter
- Lockheed T-33 Shooting Star
- McDonnell Douglas F-15C Eagle
- McDonnell Douglas F-4C Phantom II
- Mikoyan-Gurevich MiG-15
- Mikoyan-Gurevich MiG-21
- Mitsubishi A6M2 Model 21 Type 0
- North American B-25B Mitchell
- North American F-86F Sabre
- North American F-86L Sabre
- North American T-6 Texan
- Northrop F-5A Freedom Fighter
- Sikorsky SH-3 Sea King
- Sikorsky HH-34J Choctaw
- Sikorsky CH-53D Sea Stallion
- Sikorsky SH-60B Seahawk
East, Wind, Rain
[แก้]ในปี ค.ศ.2008 Hawaii Pacific University ได้มีการพัฒนาภาพยนตร์สารคดีความยาว 12 นาทีในชื่อ East, Wind, Rain ที่ใช้แทนภาพยนตร์ชุดเก่าเพื่อฉายให้แก่ผู้เข้าชมพิพธภัณฑ์[37] ภาพยนตร์อธิบายถึงการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ อันน่าประหลาดใจให้กับผู้ชมและ ยังชนะรางวัลปี 2010 Pixie Gold Award จากสมาคม American Pixel Academy.[38]
ปฏิสัมพันธ์กับชุมชน
[แก้]ความขัดแย้ง
[แก้]ในปี 2013 กองทัพเรือมีความกังวลใจในการเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ของนักท่องเที่ยวจีน1,500 คน จากAmway China ที่เดินทางท่องเที่ยวในเกาะฟอร์ดที่สนใจการจัดแสดงเครื่องบินFlying Tigers เนื่องจากเกาะฟอร์ดยังเป็นฐานทัพที่ยัประจำการอยู่[39] ด้วยความกังวลใจนี้ จึงทำให้กองทัพเรือสร้างกำแพงสูงถึง6-ฟุต (1.8-เมตร) ☃☃☃ เพื่อปิดกั้นฐานทัพเอ[39][40]
ในเดือนมีนาคม 2013 บริการขายตั๋วออนไลน์ถูกแฮกค์ข้อมูล แต่ทางบริษัทผู้ให้บริการของพิพิธภัณฑ์เชื่อว่าไม่มีข้อมูลของลูกค้าที่ถูกแฮกค์ไป[41]
ในเดือนมิถุนายน 2013 พิพิธภัณฑ์ขัดแย้งกับกองทัพเรือสหรัฐ เนื่องจากกองทัพมีแผนที่จะติดตั้งอุปกรณ์รับแสงอาทิตย์ จำนวน 60,000 ชิ้นซึ่งใช้พื้นที่มากกว่า 28 เอเคอร์ ของลานบินบนเกาะฟอร์ด[42] กองทัพเรือส่งเรื่องให้ทางสภาคองเกรสและกระทรวงกลาโหม อนุมัติด้วยสาเหตของการลดพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงของผู้ที่อาศัยบนเกาะฮาวาย ซึ่งแพงที่สุดในสหรัฐอเมริกา[42] แผนการดังกล่าวถูกชี้ประเด็นในการติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวบนลานบินประวัติศษสตร์นี้จะทำให้สามารถผลิตพลังงานไฟได้ถึง 2 ครั้งต่อวัน[43] กองทัพเสนอเงิน $250,000 ดอลลาร์ให้กับพิพิธภัณฑ์เพื่อเป็นทุนในการปรับปรุงลิฟท์ในหอบังคับเพื่อแลกเปลี่ยนกับการสนับสนุนแผนการที่ทางพิพิธภัณฑ์คัดค้านก่อนหน้านี้[43] มีการออกการรณรงค์ทางเว็บไซต์เพื่อต่อต้านแผนการคิดตั้งอุปกรณ์ในสถานที่สำคัญดังกล่าว[42] ดังนั้นทางกองทัพเรือจึงตัดสินใจที่จะติดต่อตั้งอุปกรณ์กล่าวในสถานที่โดยรอบท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์แทน[42]
การมีส่วนรวมกับชุมชน
[แก้]ในปี ค.ศ. 2008 พิพิธภัณฑ์ได้รับความเห็นชอบจาก BAE Systems ในการจัดหาทุนในโปรแกรม Barnstorming เพื่อ สร้างอุโมงค์ลมและเครื่องบินจำลองเพื่อให้ความรู้ในเรื่องความรู้ด้านบรรยากาศแก่นักเรียนในเกรด 6 โรงเรียนในท้องถิ่น[44] ในปี ค.ศ. 2012 โปรแกรม Barnstorming ได้สอนให้แก่นักเรียนมากกว่า 3,500 คนใน 40 โรงเรียน[44]
ในปี ค.ศ. 2013 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้รางวัล "Museums Connect" แก่พิพิธภัณฑ์ สำหรับการมีส่วนร่วมในโปรแกรม "Past to Present: U.S. -Sino Bridge of Connections" program.[45] โปรแกรมยังจัดให้นักเรียนจากโรงเรียน Kaiser High School ได้ส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับนักเรียนจากเมืองเฉิงตู, ประเทศจีน อีกด้วย และจัดการวิจัยในเรื่องความสัมพันธ์อเมริกา-จีนเมื่อปีประมาณ1940[45]
การท่องเที่ยว
[แก้]ในระหว่างปัญหาการระงับใช้งบประมาณปี 2013 ในสหรัฐ ทางพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ได้ต้อนรับนักท่องเที่ยวมากขึ้น เนื่องจากการจำกัดจำนวนเที่ยวเรือเฟอร์รี่ ที่จะเดินทางไป อนุสรณ์สถานUSS Arizona ซึ่งดำเนินการโดยกองทัพเรื่อสหรัฐ[46] เนื่องจสกเกาฟอร์ดยังเป็นส่วนหนึ่งของกองที่ทำการกองทัพJoint Base Pearl Harbor-Hickam ที่ยังทำการอยู่ นักท่องเที่ยวจึงต้องผ่าน กองบริการอุทยานแห่งชาติ ท่าเรื่อHalawa ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่ออุทยานประวัติศาสตร์เพิร์ล ฮาร์เบอร์ โดยต้องซื้อบัตรเข้าชมแล้วจึงเดินทางโดยรถบัสท่องเที่ยวไปยังพิพิธภัณฑ์และเรื่อ USS Missouri ได้[47]
การยอมรับและรางวัลต่างๆ
[แก้]พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ล ฮาร์เบอร์ติดอันดับ 8 สุดยอดสถานที่การบินดึงดูดใจที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยTripAdvisor.[48] ในปี ค.ศ.2007 พิพิธภัณฑ์ได้รับรางวัลการอนุรักษ์จากมูลนิธิประวัติศาสตร์ฮาวาย จาก"โครงการพิเศษในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูอาคาร วัตถุ สถานที่ หรือบริเวณทางประวัติศาสตร์" ในการพัฒนาพื้นที่ Hangar 37[49]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Pacific Aviation Museum Pearl Harbor 2009 Annual Report" (PDF). Pearl Harbor Aviation Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-10. สืบค้นเมื่อ 10 December 2018.
- ↑ Cole, William (1 January 2018). "Pearl Harbor aviation museum's ex-director kept an eye on steady growth". Stars and Stripes. Stars and Stripes. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-30. สืบค้นเมื่อ 7 January 2018.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Rare Japanese Aircraft Returns to Pearl Harbor". US Fed News Service, Including US State News. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 19, 2014. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 Burl Burlingame (2013). I'll Fly to Hawaii — A century of Aviation. Pacific Monograph. p. 135,141. ISBN 9780962922763.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Scott Ishikawa (November 2, 1997). "Museum plan taking flight". The Honolulu Advertiser. p. A27.
- ↑ 10 U.S.C. § 2814
- ↑ Kakesako, Gregg K. (2 September 2007). "A Reborn Ford Island Hosts Military Minds". Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ 11 February 2014.
- ↑ 8.0 8.1 Kakesako, Gregg K. (14 April 1998). "Bridge Opens Path to Ford Island Development". Honolulu Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ 13 February 2014.
- ↑ 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 Gregg K. Kakesako (December 1, 2002). "Ford Island fund-raiser set". Honolulu Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
- ↑ Sandra Sagisi (December 12, 2002). "Heroes Help Raise Funds for Military Aviation Museum in Hawaii". Military Aviation Museum of the Pacific Public Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
- ↑ "Commander Palmer". Winter Park High School Alums - Class of 1961. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
- ↑ Gregg K. Kakesako (March 26, 2006). "Vintage warplanes will join the displays at a museum honoring Pacific air combat". Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
- ↑ 13.0 13.1 Journalist 2nd Class Devin Wright (2006). "Aviation returns to Ford Island". US Fed News Service, Including US State News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
- ↑ 14.0 14.1 14.2 "Pacific Aviation Museum to Open". VFW Magazine. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
- ↑ 15.0 15.1 "Pearl Harbor Museum". Plane and Pilot. 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ "Pacific Aviation Museum named affiliate of Smithsonian". KHON2. September 20, 2012. สืบค้นเมื่อ May 4, 2014.
- ↑ Ian McDonald (April 4, 2013). "Modesto Family the Millionth Visitor to Hawaii's Pearl Harbor Museum". Fox40. สืบค้นเมื่อ March 12, 2013.[ลิงก์เสีย]
- ↑ 18.0 18.1 "Pacific Aviation Museums preserves historic Ford Island tower". States News Service. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
- ↑ Catherine E. Toth (February 25, 2011). "Restoration work begins at historic Pearl Harbor air control tower". Hawai'i Magazine. สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
- ↑ Janice Wood (December 11, 2011). "Control dedication part of Pearl Habor anniversary ceremonies". General Aviation News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014.
- ↑ Debra Cleghorn (September 12, 2012). "Pearl Harbor's Historic Runway to be Covered with Solar Panels". Model Airplane News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ May 4, 2014.
- ↑ 22.0 22.1 Kerry Murakami (May 6, 2013). "How Lobbyist Dollars Helped Save The Pearl Harbor Tower". Honolulu Civil Beat. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ Gordon Y.K. Pang (February 26, 2011). "Officials aim to complete the $7.5M Ford Island Control Tower restoration before the 70th anniversary of Pearl Harbor's bombing". Star Advertiser. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014.
- ↑ "Pacific Aviation Museum at Pearl Harbor". Hawaii Activities.com. 31 July 2013.
- ↑ Ben Gutierrez (December 1, 2011). "Hundreds come together for Pacific Aviation Museum fundraiser". Hawai'i News Now. สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
- ↑ "Record-Breaking Aircraft Known as "Missile With a Man in It" Lands at Pacific Aviation Museum Pearl Harbor" (Press release). e-releases. May 30, 2013.
- ↑ 27.0 27.1 Kris Bordessa (April 1, 2013). "Visiting the Pearl Harbor Historic Sites". Geeky States of America. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ "2011 Annual Report" (PDF). tawanifoundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ 2014-07-14.
- ↑ "Fred L. Turner, McDonald's Honorary Chairman and Former CEO, Passes Away". McDonald's. January 7, 2013. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
- ↑ 30.0 30.1 "Pacific Aviation Museum - Epicenter of History". US Fed News Service, Including US State News. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
- ↑ 31.0 31.1 "The Pacific Aviation Museum – Part 2 – The Ni'ihau Incident". February 2, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-11. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
- ↑ Let's Go, Inc. (2008). Jessica Lane Lucier; Evelyn Z. Hsieh (บ.ก.). Let's Go Hawaii 5th Edition. Macmillan. p. 448. ISBN 9780312385798.
- ↑ "Robinson family visits Ni'ihau exhibit at Pacific Aviation Museum". US Fed News Service, Including US State News. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
- ↑ 34.0 34.1 34.2 34.3 34.4 34.5 34.6 William Cole (April 11, 2013). "WWII bomber arrives at isle aviation museum". Honolulu Star-Advertiser. p. B3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 2014-07-14.
- ↑ 35.0 35.1 "Historic B17 Flying Fortress finds home at Ford Island". KITV. April 10, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ 36.0 36.1 Jeff Danna (April 26, 2012). "Glenview man brings Battle of Midway to life in diorama". Chicago Tribune. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ May 4, 2014.
- ↑ Jennifer Ching (November 4, 2008). "The HPU Documentary and Corporate Video class, also known as Video III, is celebrating two recent achievements". Kalamalama, the HPU Student Newspaper. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ May 7, 2014.
- ↑ "Pixie Previous Winners" (PDF). American Pixel Academy. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ May 7, 2014.
- ↑ 39.0 39.1 William Cole (January 21, 2013). "Chinese visitors' tour of museum puts Navy on edge". Star Advertiser. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
- ↑ William Cole (2013). "Fence Restricts Chinese Visitors at Museum". Honolulu Star - Advertiser. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
- ↑ HawaiiNewsNow Web Staff (June 8, 2013). "Pacific Aviation Museum's online ticketing service hacked". Hawaii News Now. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ 42.0 42.1 42.2 42.3 William Cole (June 13, 2013). "Navy halts move for solar project on historic runway". Star Advertiser. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ 43.0 43.1 William Cole (October 1, 2012). "Buffeted by opposition, Navy blinks on solar site". McClatchy-Tribute Regional News.
- ↑ 44.0 44.1 Jenna Blakely (May 3, 2013). "Pacific Aviation Museum seeks sponsors to help kids program fly on Neighbor Islands". Pacific Business News. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ 45.0 45.1 "Pacific Aviation Museum bridges cultural exchange project for Kaiser students". Hawaii State Teachers Association. January 7, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
- ↑ Stephanie Silverstein (April 26, 2013). "Battleship Missouri, other Pearl Harbor sites benefit from sequestration". Pacific Business News. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ "Navy transfers Halawa Landing to National Park Service". US Fed News Service. April 7, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ May 5, 2014 – โดยทาง Highbeam.
- ↑ "TripAdvisor Airs Out America's Top 10 Aviation Attractions" (Press release). TripAdvisor. August 5, 2010. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
- ↑ "2007 Preservation Honor Award Winners". Historic Hawaii Foundation. 2007. สืบค้นเมื่อ May 7, 2014.