พายุที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์
อันดับ | พายุ | ฤดูกาล | ความเสียหาย | อ้างอิง | |
---|---|---|---|---|---|
PHP | USD | ||||
1 | โยลันดา (ไห่เยี่ยน) | 2556 | ₱95.5 พันล้าน | $2.2 พันล้าน | [1] |
2 | โอเดตต์ (ราอี) | 2564 | ₱51.8 พันล้าน | $1.02 พันล้าน | [2] |
3 | ปาโบล (บบพา) | 2555 | ₱43.2 พันล้าน | $1.06 พันล้าน | [3] |
4 | เกลนดา (รามสูร) | 2557 | ₱38.6 พันล้าน | $771 ล้าน | [4] |
5 | โอมโปง (มังคุด) | 2561 | ₱33.9 พันล้าน | $627 ล้าน | [5] |
6 | เปเปง (ปาหม่า) | 2552 | ₱27.3 พันล้าน | $581 ล้าน | [6] |
7 | ยูลิสซีส (หว่ามก๋อ) | 2563 | ₱20.2 พันล้าน | $418 ล้าน | [7] |
8 | โรลลี (โคนี) | 2563 | ₱20 พันล้าน | $369 ล้าน | [8] |
9 | ปาเอง (นัลแก) | 2565 | ₱17.6 พันล้าน | $321 ล้าน | [9] |
10 | เปดริง (เนสาท) | 2554 | ₱15.6 พันล้าน | $356 ล้าน | [3] |
พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (อักษรโรมัน: Haiyan, จีน: 白鹿)[nb 1] หรือที่ในประเทศฟิลิปปินส์เรียกว่า พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นโยลันดา (ตากาล็อก: Yolanda)[nb 2] เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกมา เมื่อพายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยนขึ้นฝั่งพายุก็ได้สร้างความเสียหายบางส่วนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะประเทศฟิลิปปินส์[10] และนี่เป็นหนึ่งในพายุที่มีการบันทึกไว้ในประเทศฟิลิปปินส์ที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ที่พายุได้คร่าชีวิตผู้คนไปประมาณ 6,300 ราย ในประเทศนั้นเพียงประเทศเดียว[11][12] ด้วยความเร็วลมสูงสุด 1 นาทีที่ 315 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (195 ไมล์ต่อชั่วโมง) ตามรายงานของศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยนมีความเร็วลมเท่ากับพายุไต้ฝุ่นเมอรันตีในปี พ.ศ. 2559 เนื่องจากเป็นพายุที่เคลื่อนตัวพัดขึ้นฝั่งที่มีกำลังแรงที่สุดเป็นอันดับสองเป็นประวัติการณ์ และตามหลังพายุไต้ฝุ่นโคนีในปี พ.ศ. 2563 เท่านั้น จนถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 ยังคงพบผู้เสียชีวิตอยู่[13] นอกจากนี้ ยังเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดในโลกในโลกในปี พ.ศ. 2556 อีกด้วย
ดูเพิ่ม
[แก้]
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ del Rosario, Eduardo D. (April 2014). FINAL REPORT Effects of Typhoon YOLANDA (HAIYAN) (PDF) (Report). NDRRMC. สืบค้นเมื่อ 14 March 2015.
- ↑ SitRep No. 44 for Typhoon ODETTE (2021) (PDF) (Report). NDRRMC. 7 February 2022. สืบค้นเมื่อ 15 February 2022.
- ↑ 3.0 3.1 Uy, Leo Jaymar G.; Pilar, Lourdes O. (8 February 2018). "Natural disaster damage at P374B in 2006-2015". Business World. สืบค้นเมื่อ 8 February 2018 – โดยทาง PressReader.
- ↑ Ramos, Benito T. (16 September 2014). FINAL REPORT re Effects of Typhoon (PDF) (Report). NDRRMC. สืบค้นเมื่อ 17 September 2014.
- ↑ Jalad, Ricardo B. (5 October 2018). Situational Report No.55 re Preparedness Measures for TY OMPONG (I.N. MANGKHUT) (PDF) (Technical report). NDRRMC. สืบค้นเมื่อ 7 October 2018.
- ↑ Rabonza, Glenn J. (20 October 2009). FINAL Report on Tropical Storm \"ONDOY\" {KETSANA} and Typhoon \"PEPENG\ (PDF) (Report). NDRRMC. สืบค้นเมื่อ 23 October 2010.
- ↑ Jalad, Ricardo B. (January 13, 2021). SitRep no. 29 re Preparedness Measures and Effects for TY ULYSSES (PDF). ndrrmc.gov.ph (Report). สืบค้นเมื่อ January 15, 2021.
- ↑ Jalad, Ricardo B. (November 10, 2020). "SitRep No.11 re Preparedness Measures for Super Typhoon Rolly" (PDF). NDRRMC. สืบค้นเมื่อ November 10, 2020.
- ↑ Jalad, Ricardo B. (July 29, 2023). "SitRep No.11 re Preparedness Measures for Severe Tropical Storm Paeng". NDRRMC.
- ↑ Why Typhoon Haiyan Caused So Much Damage (Report). NPR. 2013-11-11. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2014. สืบค้นเมื่อ 21 April 2014.
- ↑ Typhoon Haiyan death toll rises over 5,000 (Report). BBC. 2013-11-22. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2013. สืบค้นเมื่อ 22 November 2013.
- ↑ "FINAL REPORT re EFFECTS of Typhoon "YOLANDA" (HAIYAN)" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). NDRRMC. 2014. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2020. สืบค้นเมื่อ 5 November 2020.
- ↑ Gabieta, Joey (2014-11-09). "More bodies turning up in Tacloban". Philippine Daily Inquirer (ภาษาอังกฤษ). Asia News Network. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2014. สืบค้นเมื่อ 21 January 2014.