พรรคประชาชนกัมพูชา
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก พรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา)
พรรคประชาชนกัมพูชา គណបក្សប្រជាជនកម្ពុជា | |
---|---|
ชื่อย่อ | CPP (ตั้งแต่ พ.ศ. 2534) KPRP (2494–2534) |
ประธาน | ฮุน เซน |
รองประธาน | เซย์ ซัม ซอ เค็ง |
คำขวัญ | เอกราช, วิมุตติ, ประชาธิปไตย, ศุภมงคลและสังคมวัฒนาสถาพร แด่พระราชอาณาจักร |
ก่อตั้ง | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2494[1] |
ก่อนหน้า | พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน |
ที่ทำการ | 203 นโรดมบูเลอวาร์ด พนมเปญ ประเทศกัมพูชา |
ฝ่ายเยาวชน | ยุวชน CPP |
สมาชิกภาพ (ปี 2020) | 6,000,000 คน[2] |
อุดมการณ์ | |
จุดยืน | ตั้งแต่ พ.ศ. 2534: เต้นใหญ่[8][9][10] 2494–2534: ซ้ายถึงซ้ายจัด |
กลุ่มระดับสากล | Centrist Democrat International |
สี | สีฟ้า |
พฤฒสภา | 58 / 62
|
รัฐสภา | 125 / 125
|
หัวหน้าคอมมูน | 1,645 / 1,646
|
กรมปรึกษาฆุมสังกัด | 11,051 / 11,572
|
สมาชิกสภาเขต[11] | 4,034 / 4,114
|
เว็บไซต์ | |
cpp | |
การเมืองกัมพูชา รายชื่อพรรคการเมือง การเลือกตั้ง |
พรรคประชาชนกัมพูชา (เขมร: គណបក្សប្រជាជនកម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนกมฺพุชา: KPK; อังกฤษ: Cambodian People’s Party) เป็นพรรคที่สืบทอดมาจากพรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชาที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 การเปลี่ยนแปลงมาเป็นพรรคประชาชนกัมพูชาเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยมีการเปลี่ยนแปลงอุดมการณ์ของพรรค ยกเลิกแนวคิดนิยมคอมมิวนิสต์ก่อนการประชุมสันติภาพที่ปารีส ผู้นำพรรคคือฮุน เซน และ เจีย ซีม พรรคเข้าร่วมการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2536 และได้คะแนนเสียงเป็นลำดับที่สอง ได้เข้าร่วมรัฐบาลผสมกับพรรคฟุนซินเปก โดยฮุน เซนได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สอง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 ฮุน เซน เข้ายึดอำนาจและขับไล่สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ออกจากตำแหน่ง และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2541 ซึ่งพรรคได้เสียงมากที่สุดและได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลผสม
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Niem, Chheng (26 June 2019). "CPP set to mark anniversary, vows to maintain public trust". The Phnom Penh Post. สืบค้นเมื่อ 26 June 2019.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Ruling Party's New Headquarters Funded by Members and Costs $40M: CPP Spokesperson". VOA. 7 May 2020. สืบค้นเมื่อ 8 May 2020.
- ↑ Quackenbush, Casey (7 January 2019). "40 Years After the Fall of the Khmer Rouge, Cambodia Still Grapples With Pol Pot's Brutal Legacy". TIME. สืบค้นเมื่อ 7 December 2019.
- ↑ Aflaki, Inga N. (2016). Entrepreneurship in the Polis. Routledge.
- ↑ Ven, Rathavong (5 June 2018). "CPP determined to maintain Kingdom's peace and development". Khmer Times. สืบค้นเมื่อ 26 June 2019.
- ↑ 6.0 6.1 Vickery, Michael (1 January 1994). "The Cambodian People's Party: Where Has It Come From, Where Is It Going?". Southeast Asian Affairs. 21: 102. doi:10.1355/SEAA94G.
- ↑ Chandler, David P.; C., D. P. (1983). "Revising the Past in Democratic Kampuchea: When Was the Birthday of the Party?". Pacific Affairs. 56 (2): 288–300. doi:10.2307/2758655. JSTOR 2758655. สืบค้นเมื่อ 2 July 2021.
- ↑ Diamond, Larry (April 2002). "Elections Without Democracy: Thinking About Hybrid Regimes" (PDF). Journal of Democracy. 13 (2): 31, 32. doi:10.1353/jod.2002.0025. S2CID 154815836. สืบค้นเมื่อ 27 January 2014.
- ↑ McCargo, Duncan (October 2005). "Cambodia: Getting Away with Authoritarianism?" (PDF). Journal of Democracy. 16 (4): 98. doi:10.1353/jod.2005.0067. S2CID 154881536. สืบค้นเมื่อ 27 January 2014.
- ↑ Hughes, Caroline (January–February 2009). "Consolidation in the Midst of Crisis" (PDF). Asian Survey. 49 (1): 211–212. doi:10.1525/as.2009.49.1.206. ISSN 1533-838X. สืบค้นเมื่อ 27 January 2014.
- ↑ Khorn, Savi (11 June 2019). "Ministry: Councillors to be appointed by next Monday". The Phnom Penh Post. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
บรรณานุกรม
[แก้]- Guo, Sujian (2006). The Political Economy of Asian Transition from Communism. Ashgate Publishing, Ltd. ISBN 0754647358.
- ไมเคิล ลีเฟอร์. พจนานุกรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กทม. : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.