ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Zoomseo/หน้าทดลอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Backlink SEO สายเทาในประเทศไทย[แก้]

นายณรงค์ อ่อนสอาด ผวจ.ลำพูน


  1. SEO สายเทา คือ การทำ SEO ในอุตสาหกรรมที่ไม่สามารถทำ SEO สายขาวได้ เช่น เว็บไซต์ผิดกฎหมาย, เว็บพนัน,และค่ายเกม pg slot เว็บที่ขายสินค้าผิดกฎหมายเป็นต้น เนื่องจากเว็บไซต์เหล่านี้ไม่สามารถสร้าง Backlink บนเว็บทั่วไปได้ จึงต้องใช้เทคนิคอื่น ๆ ในการทำ backlink เช่น การสร้าง PBN, การ Redirect, การ SPAM เนื้อหา รวมไปถึงการ Hack เว็บไซต์อื่นมาทำ Backlink นั่นเอง การทำ SEO สายเทา PG อาจหลบเลี่ยง Google Algorithm ได้ในระยะเวลาหนึ่ง แต่ถ้าหาก Google มีการปรับปรุง Algorithm ก็อาจทำให้เว็บไซต์ของท่าน อันดับลดลง Organic Traffic ลดลง หรือแย่จนถึงขั้นถูกแบนได้
  2. SEP สายดำ คือการทำ SEO ที่จะหาช่องทาง “โกง” Google อย่างเต็มรูปแบบ เช่น การใช้โปรแกรมสร้าง Backlink จำนวนมาก, การ copy เนื้อหา, การสร้างเนื้อหาโดยใช้โปรแกรม เป็นต้น โดย SEO สายดำนั้นจะเห็นผลได้ในระยะสั้น ซึ่งสุดท้ายแล้วเว็บไซต์ของท่านก็จะโดน Google แบนอย่างแน่นอน เนื่องจาก Google ได้สร้าง Algorithm ออกมามากมายเพื่อป้องกัน Blackhat SEO และต้องการ User ได้เข้าถึงเนื้อหาที่ดีที่สุดนั่นเอง

จากความปั่นป่วนที่เกิดขึ้นในโลกออนไลน์

หลังจากเมื่อเวลาประมาณเที่ยงคืนของวันที่ 24 ส.ค.ที่ผ่านมา เว็บไซต์ของหน่วยงานรัฐบาลไทยถูกแฮกจำนวน 9 เว็บไซต์ จากกลุ่มมุสลิมแฮกเกอร์ชื่อว่า ฟอลแลค กาสสินี (Fallag Gassrini) จากตูนิเซีย โดยเปลี่ยนหน้าเพจแรกของเว็บไซต์ เป็นโพสต์รูปชาวโรฮิงญาที่ถูกกระทำโดยรัฐบาลเมียนมา ภาพชาวโรฮิงญาที่พยายามจะหนีมาทางเรือ เเละเด็กชาวมุสลิมที่โดนระเบิดเสียชีวิตจำนวนมาก[1]

สำหรับเว็บไซต์ในประเทศไทยที่ถูกแฮก บางเว็บไซต์ได้แก้ไขแล้ว ขณะที่บางเว็บไซต์ยังไม่มีการดำเนินการแก้ไขแต่อย่างใด ได้แก่ 1. เว็บไซต์ของจังหวัดลำพูน 2. เว็บไซต์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. เว็บไซต์ของจังหวัดอุบลราชธานี 4. เว็บไซต์สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  5. เว็บไซต์เทศบาลเวียงสะอาด จังหวัดมหาสารคาม  6. เว็บไซต์โรงพยาบาลลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 7. เว็บไซต์เทศบาลตำบลดูนสาด จังหวัดขอนแก่น 8. เว็บไซต์ของจังหวัดสระแก้ว 9. เว็บไซต์ปากน้ำปราณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์[2]

นี่เป็นแม่แบบสำหรับข้อความที่ขาดแหล่งที่มา https://www.thairath.co.th/news/local/520485 [ต้องการอ้างอิง]

จิมมี เวลส์ ← นี่เป็นลิงก์ไปยังผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ข้อความที่แสดงสำหรับลิงก์สามารถปรับได้อย่างนี้ ถ้าลิงก์ชี้ไปหน้าที่ยังไม่มีคนสร้าง จะเห็นเป็นสีแดง แบบนี้

ส่องเว็บไซต์หน่วยงานไทยถูกแฮก 5 ครั้ง ใน 5 เดือน[แก้]

ปัจจุบันโลกของเราอยู่ในยุคดิจิทัลที่ข้อมูลต่างๆ อยู่ในรูปแบบออนไลน์ เป็นฐานข้อมูลขนาดยักษ์ใหญ่ที่สามารถถูกนำไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องปกติที่ข้อมูลสำคัญๆ ของหน่วยงานโดยเฉพาะหน่วยงานรัฐ จะมีการป้องกันการ ‘เข้าถึง’ ไม่พึงประสงค์แบบแน่นหนาอย่างมาก เพื่อป้องกันข้อมูลสำคัญหน่วยงานและของประชาชนรั่วไหล แต่บางทีก็ไม่เป็นเช่นนั้น เพราะอย่างน้อยที่สุดครึ่งปีที่ผ่านมาเราได้เห็นข่าวเว็บไซต์และบัญชีโซเชียลมีเดียของหน่วยงานรัฐไทยถูก ‘แฮก’ กันไปแบบสดๆ ร้อนๆ เราชวนมาดู 5 กรณีการแฮกข้อมูลรัฐในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมากัน

แฮกทวิตเตอร์สรรพากร เป็น NFT[แก้]

กรณีล่าสุด 16 มกราคม 2565 อยู่ๆ หน้าบัญชีทวิตเตอร์ของกรมสรรพากรก็ถูกเปลี่ยนเป็นรูป ‘ลิงเบื่อ’ พร้อมกับเปลี่ยนชื่อและข้อมูลในบัญชีโดยมีการระบุถึงการซื้อขายทรัพย์สินด้วยเงินดิจิทัลหรือ NFT บนหน้าโปรไฟล์ ทั้งยังลบทวิตเก่าๆ ที่กรมสรรพากรโพสต์ออกไปทั้งหมด

ทำให้กรมสรรพากรได้ออกมาชี้แจงว่า ‘ถูกแฮก’ และขอแจ้งผู้ติดตามทวิตเตอร์ของสรรพากรให้ระมัดระวังการใช้งานโดยล่าสุดได้ยุติการใช้งานบัญชีดังกล่าวและประสานงานทางกฎหมายเพื่อให้หน่วยงานไซเบอร์ดำเนินการ แต่ขอยืนยันว่าระบบสารสนเทศของสรรพากรยังมีความมั่นคงและใช้งานได้ปกติอยู่

เรื่องที่เกิดขึ้นหลายคนเชื่อว่ามีความเชื่อมโยงกับข่าวการเตรียมเป็นภาษีจากคริปโทเคอเรนซีซึ่งการค้าขาย NFT มีส่วนเกี่ยวข้อง และปัจจุบันเงื่อนไขการเก็บภาษีกำลังอยู่ในช่วงการพิจารณา

แฮกเว็บกระทรวงพลังงาน[แก้]

วันที่ 1 ธันวาคม 2564 เมื่อเข้าสู่หน้าเว็บไซต์ของกระทรวงพลังงานหลายคนก็ต้องงงไป เมื่อข้อมูลที่ปรากฎขึ้นกลายเป็นข้อมูลชักชวนให้ไปเล่นพนันออนไลน์แทน โดยเพจดัง Drama Addict เป็นผู้พบปัญหาและแจ้งให้กับทางกระทรวงพลังงานต่อมาหนึ่งวันทางกระทรวงจึงได้ออกมาแจ้งว่าสามารถแก้ไขและกู้คืนข้อมูลได้เรียบร้อยแล้ว และจะดำเนินคดีทางกฎหมายกับแฮกเกอร์ต่อไป ซึ่งยังไม่มีรายงานข่าวความคืบหน้าต่อมา

แฮกศาลรัฐธรรมนูญ[แก้]

กรณีใหญ่ซึ่งกลายเป็นข่าวดังเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2564 เว็บไซต์ของศาลรัฐธรรมนูญถูกแฮกพร้อมอัปโหลดหน้าเว็บไซต์ใหม่ในชื่อ ‘Kangaroo Court’ หรือแสลงคำว่า ‘ศาลเตี้ย’ ในภาษาไทย และอัปโหลดเพลง Guillotine ขึ้นบนหน้าเว็บไซต์ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นหลังศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยคดีของแกนนำกลุ่มราษฎร นายอานนท์ นำภา, นายภาณุพงศ์ จาดนอก (ไมค์) และ น.ส.ปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล (รุ้ง) ซึ่งถูกวินิจฉัยว่าเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ต่อมาเจ้าหน้าที่ตำรวจแผนกอาชญากรรมทางเทคโนโลยีได้บุกจับกุมตัวนายวชิระ สุภเถียร วัย 33 ปี ซึ่งจบปริญญาตรีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้รับสารภาพว่าเป็นผู้แฮกเว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญจริง โดยระบุว่าไม่ได้คิดร้ายแต่ต้องการทดสอบระบบของหน่วยงานว่ามีการป้องกันที่เข้มข้นมากน้อยเพียงใด

ข้อมูลนักท่องเที่ยวรั่วไหล 106 ล้านคน[แก้]

22 กันยายน 2564 สื่อต่างชาติรายงานว่าข้อมูลจากบริษัท คอมพาริเทค (Comparitech) บริษัทวิจัยได้สนความปลอดภัยทางไซเบอร์จากอังกฤษ พบข้อมูลนักท่องเที่ยวที่เคยเดินทางมาประเทศไทยในรอบ 10 ปีมากกว่า 106 ล้านคนถูกเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวเช่น ชื่อ–สกุล หมายเลขพาสปอร์ต วันที่เดินทางเข้าประเทศไทย และอื่นๆ

หลังมีรายงานดังกล่าวการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้ออกมาระบุว่าได้รับทราบเรื่องแล้วแต่ข้อมูลไม่ได้หลุดมาจากททท. โดยคาดว่าน่าจะมีการรั่วไหลจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เนื่องจากมีข้อมูลการเดินทางและเลขพาสปอร์ต และสร้างความกังวลว่าข้อมูลรั่วไหลจะส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นในการท่องเที่ยวต่อไป

ต่อมา สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้ออกมาชี้แจงว่าเคยมีการพยายามเข้าถึงข้อมูลของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แต่ไม่สามารถเจาะเข้ามาได้ และทางหน่วยงานมีมาตรการป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลด้วยระบบต่างๆ และจากการตรวจสอบไม่พบว่ามีข้อมูลรั่วไหล และขอให้นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาประเทศไทยมั่นใจในระบบตรวจคนเข้าเมืองของไทยว่ามีระบบรักษาข้อมูลที่ปลอดภัย และมอบหมายให้มีการตรวจสอบข้อเท็จจริง ซึ่งเรายังไม่เห็นข่าวรายงานความคืบหน้าต่อมาว่ามีข้อเท็จจริงอย่างไร

ประวัติคนไข้ถูกขาย 16 ล้านราย[แก้]

ก่อนหน้าข้อมูลนักท่องเที่ยวรั่วไหล วันที่ 6 กันยายน 2564 ได้มีรายงานข้อมูลพื้นฐานของคนไข้ในระบบสาธารณสุขรั่วไหลกว่า 16 ล้านรายชื่อ โดยมีข้อมูลเช่น ที่อยู่ โทรศัพท์ เลขบัตรประชาชน วันเดือนปีเกิด ชื่อโรงพยาบาล ชื่อบิดา สิทธิในการรักษา และข้อมูลทางการแพทย์ที่รวมถึงชื่อโรงพยาบาลและรหัสทั่วไป โดยมีการลงขายข้อมูลเหล่านี้บนหน้าเว็บไซต์

รายงานในครั้งนั้นสร้างความกังวลให้กับประชาชนอย่างมาก โดยในวันต่อมาทางกระทรวงสาธารณสุขได้ออกมายอมรับอย่างเปิดเผยว่าข้อมูลดังกล่าวถูกแฮกไปจริง โดยก่อนหน้านี้เคยมีการแฮกข้อมูลสาธารณสุขของคนไข้ในจังหวัดสระบุรีมาก่อนแล้ว ส่วนข้อมูลที่ถูกโจรกรรมอยู่ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์

อย่างไรก็ดี ข้อมูลที่รั่วไหลนั้นเป็นข้อมูลทั่วไปที่ ‘ไม่ใช่ความลับ’ และไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูลการวินิจฉัยหรือผลตรวจใดๆ รวมถึงผู้กระทำไม่ได้มีการเรียกร้องเงินหรือเงื่อนไขใดๆ จากทางโรงพยาบาลหรือทางสาธารณสุข รวมถึงประสานงานให้ทางดีอีเอสเข้ามาดูแลการวางระบบให้มีความเข้มงวดมากขึ้น

จากกรณีการแฮกบัญชีและข้อมูลของรัฐ 5 ครั้งในระยะเวลาราวครึ่งปีทำให้เราเห็นว่าชาวไทยส่วนใหญ่ดู ‘ชินชา’ และไม่ตื่นเต้นนักกับกรณีล่าสุดที่มีการแฮกทวิตเตอร์ของสรรพากร ทั้งยังนำไปสู่คำถามว่าเราสามารถ ‘เชื่อมั่น’ ในความปลอดภัยบนระบบของรัฐได้หรือไม่ในอนาคต?

ส่วนอ้างอิง[แก้]

  • Matichon. สรรพากร แจง หลังทวิตเตอร์โดนแฮก จ่อเอาผิดดำเนินคดี มั่นใจระบบยังมั่นคง–ปลอดภัย. https://bit.ly/3roqePw
  • ไทยรัฐ. ตร.จัดหนัก มือแฮกเว็บศาลรัฐธรรมนูญเปลี่ยนชื่อเป็น Kangaroo Court. https://bit.ly/3tvdmd7
  • Thaipost. พพ.แจ้งแก้ไขเว็บไซต์หลังถูกแฮกเป็นหน้าโฆษณาพนันออนไลน์. https://bit.ly/3fwqfLD
  • pptvhd36. สื่อต่างชาติ เผย ข้อมูลนักท่องเที่ยวมาไทย 106 ล้านราย รั่วไหล. https://bit.ly/3qBsC6q
  • nationtv. ข้อมูลนักท่องเที่ยวมาไทยในรอบ10ปี 100 ล้านชื่อรั่วสู่โลกออนไลน์. https://bit.ly/3FFcjtf
  • ไทยรัฐ. สตม. แจงข่าวข้อมูลนักท่องเที่ยว 106 ล้านคนเคยมาไทยรั่วไหล ยันระบบยังปลอดภัย. https://bit.ly/3fCSkkl
  • Prachachat. สธ.แถลง ประวัติคนไข้ถูกแฮก ไม่ใช่ข้อมูลลับ ตั้งหน่วยงานตอบโต้ฉุกเฉิน. https://bit.ly/3GA2wWY

ส่วนแหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แหล่งข้อมูลเว็บไซต์ตัวอย่าง

แหล่งข้อมูลเว็บไซต์ตัวอย่าง



กลับหน้าสอนการใช้งาน
  1. Smith, Jane. "Sample title". Sample website. Sample publisher. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2022.
  2. Jones, Bob (7 April 2022). "Sample headline". The Sample Times. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2022.