ผู้ใช้:Vop/กระบะทราย
มาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวแบบคลื่นพื้นผิว
[แก้]มาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวแบบคลื่นพื้นผิว MS เป็นหนึ่งในมาตราวัดขนาดของแผ่นดินไหว โดยอาศัยการวัดจากคลื่นแผ่นดินไหวชนิดเรลี่ย์ ที่เป็นคลื่นแผ่นดินไหวที่เคลื่อนที่ไปตามผิวเปลือกโลก .มาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวแบบคลื่นพื้นผิวนี้ พัฒนาขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 50 โดยนักวิจัยกลุ่มเดียวกับที่คิดค้นมาตราริกเตอร์ หรือมาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวแบบท้องถิ่น ML เพื่อให้สามารถวัดขนาดแผ่นดินไหวระยะไกลได้ ปัจจุบันใช้เป็นมาตราวัดแผ่นดินไหวหลักของกรมอุตุฯแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
นิยาม
[แก้]สูตรในการคำนวนมาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวแบบคลื่นพื้นผิว คือ
โดย A คือค่าการขจัดของอนุภาคสูงสุดของคลื่นเรลี่ย์ (ผลบวกทางเว็คเตอร์ ของค่าขจัด 2 ค่าที่วัดได้ ค่าหนึ่งวัดจากแนวเหนือ-ใต้ อีกค่าหนึ่งวัดจากแนวตะวันออก-ตะวันตก) มีหน่วยเป็นไมโครเมตร , T คือคาบเวลาของคลื่นที่สอดคล้องกันของค่าขจัดสองค่านั้น มีหน่วยเป็นวินาที , Δ คือระยะห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว มีหน่วยเป็นองศาที่ทำมุมกับแกนโลก และ
ค่าขจัด 2 ค่าดังกล่าว ต้องวัดในช่วงเวลาเดียวกัน หรือภายใน 1/8 ของคาบของคลื่นเดียวกัน; ถ้าค่าขจัด 2 ค่ามาจากคาบของคลื่นที่ต่างกัน เราต้องนำค่ามา weighed sum ใหม่:
โดย AN คือค่าขจัดตามแนวเหนือ-ใต้ หน่วยเป็นไมโครเมตร ,AE คือค่าขจัดตามแนวตะวันออก-ตก หน่วยเป็นไมโครเมตร, TN คือคาบเวลาที่สอดคล้องกับ AN หน่วยเป็นวินาที และ TE คือคาบเวลาที่สอดคล้องกับ AE หน่วยเป็นวินาทีเช่นกัน.
Vladimír Tobyáš และ Reinhard Mittag ได้เสนอวิธีการแปลงค่าจากมาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวแบบคลื่นพื้นผิว MS ไปเป็น มาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวแบบท้องถิ่น ML, โดยใช้ [1]
External links
[แก้]- Robert E. Wallace, ed. (1991). "The San Andreas Fault System, California (Professional Paper 1515)". USGS. สืบค้นเมื่อ 2008-09-14.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help);|author=
มีชื่อเรียกทั่วไป (help) - Visual Glossary - magnitude - USGS
- Earthquake Size
- ↑ Vladimír Tobyáš and Reinhard Mittag (1991-02-06). "Local magnitude, surface wave magnitude and seismic energy". Studia Geophysica et Geodaetica. สืบค้นเมื่อ 2008-09-14.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)