ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Phaisit16207/กระบะทราย 8

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชอาณาจักรโปแลนด์

Königreich Polen (เยอรมัน)
Królestwo Polskie (โปแลนด์)
ค.ศ. 1916–ค.ศ. 1918
ธงชาติPhaisit16207/กระบะทราย 8
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของPhaisit16207/กระบะทราย 8
ตราแผ่นดิน
สถานะรัฐบริวาร / รัฐหุ่นเชิด
ของจักรวรรดิเยอรมัน
เมืองหลวงวอร์ซอ
ภาษาทั่วไป
การปกครองผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
พระมหากษัตริย์ 
• ค.ศ. 1916-1918
ว่าง
ประมุขแห่งรัฐ 
• 14 มกราคม - 25 สิงหาคม
ค.ศ. 1917
สภาเฉพาะกาลแห่งรัฐa
• ค.ศ. 1917-1918
สภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินa
นายกรัฐมนตรี 
• พฤศจิกายน 1917 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918
ยาน คูชัตเซฟสกี
• 27 กุมภาพันธ์ - 4 เมษายน ค.ศ. 1918
อันตอญี ปอนีควอฟสกี
• 4 เมษายน - 23 ตุลาคม ค.ศ. 1918
ยาน กานตี สเต็ชสคอฟสกี
• 23 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
ยูแซฟ ซีเวียซินีสกี
• 4-11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
ววาดีสวัฟ วตูเบฟสกี
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่ 1
• พระราชบัญญัติ 5 พฤศจิกายน
5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1916
3 มีนาคม ค.ศ. 1918
11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
สกุลเงิน
ก่อนหน้า
ถัดไป
รัฐบาลสามัญวอร์ซอ
สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
  1. Ruled as collective heads of state.

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (โปแลนด์: Królestwo Polskie; เยอรมัน: Königreich Polen) เป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ราชอาณาจักรผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งโปแลนด์ (โปแลนด์: Królestwo Regencyjne) เป็นหน่วยการเมืองที่มีอายุสั้นและเป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามโลกครั้งที่ 1[1] ตั้งอยู่ในรัฐบาลสามัญวอร์ซอ

การตัดสินใจโดยการเสนอให้มีการฟื้นฟูโปแลนด์ หลังจากถูกแบ่งแยกมานานหลายศตวรรษ โดยผู้กำหนดนโยบายของเยอรมนี ในความพยายามที่จะสร้างความชอบธรรมให้กับจักรพรรดิในทุกหนทุกแห่ง ภายในดินแดนที่ถูกยึดครอง The plan was followed by the German propaganda pamphlet campaign delivered to the Poles in 1915, claiming that the German soldiers were arriving as liberators to free Poland from subjugation by the Russian Empire.[2] However, in reality, the German military also wanted to annex around 30,000 square kilometers of the territory of former Congress Poland and carry out ethnic cleansing up to 3 million Poles and Jews to make room for German colonists in the so-called Polish Border Strip plan.[3][4][5][6][7] The German government used punitive threats to force Polish landowners living in the German-occupied Baltic states to relocate and sell their Baltic property to the Germans in exchange for entry to Poland. Parallel efforts were made to remove Poles from Polish territories of the Prussian Partition.[8]

ภายหลังการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ซึ่งถูกลงนามโดยฝ่ายสัมพันธมิตรกับจักรวรรดิเยอรมนี ซึ่งได้ยุติสงครามโลกครั้งที่ 1 พื้นที่ดังกล่าวก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่

อ้างอิง

[แก้]
  1. The Regency Kingdom has been referred to as a puppet state by Norman Davies in Europe: A history (Internet Archive, p. 910); by Jerzy Lukowski and Hubert Zawadzki in A Concise History of Poland (Google Books, p. 218); by Piotr J. Wroblel in Chronology of Polish History and Nation and History (Google Books, p. 454); and by Raymond Leslie Buell in Poland: Key to Europe (Google Books, p. 68: "The Polish Kingdom... was merely a pawn [of Germany]").
  2. Aviel Roshwald. Ethnic Nationalism and the Fall of Empires: Central Europe, the Middle East and Russia, 1914-23. Routledge, 2002. P. 117.
  3. Immanuel Geiss Tzw. polski pas graniczny 1914-1918. Warszawa (1964).
  4. Elusive Alliance: The German Occupation of Poland in World War I Jesse Kauffman - 2015
  5. Military Occupations in First World War Europe Sophie De Schaepdrijver page 69, Routledge, 2015
  6. The Great and Holy War: How World War I Changed Religion For Ever Philip Jenkins, page 38, Lion, 2014
  7. A State of Nations: Empire and Nation-Making in the Age of Lenin and Stalin Autorzy Ronald Grigor Suny,Terry Martin, page 126, Oxford University Press 2001 "To wall off this space, German planners discussed establishing an ethnically cleansed border strip in Poland, cleared of all Slavs and settled by ethnic Germans. Ober Ost officials deported large segments of the local population"
  8. Annemarie Sammartino. The Impossible Border: Germany and the East, 1914-1922. Cornell University, 2010, p. 36-37.