ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Lulumui/ไครสต์เชิร์ช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รัฐบาล

[แก้]
The Canterbury Provincial Council Building

รัฐบาลท้องถิ่นแห่งเมืองไครสต์เชิร์ช ปกครองด้วยระบบประชาธิปไตยมีแต่ละภาคส่วนหลายด้าน ประกอบด้วย:

  • สภาเมืองไครสต์เชิร์ช, ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเมืองไครสต์เชิร์ช, และสมาชิกสภาที่มาจากการเลือกตั้ง13 คนจาก 7 องค์กร: หน่วยละ 2 จาก เชียเร่ย์-ปาปานิว, บลูวูด-บีกาซุส, แฮคเลย์-เฟอรี่เมด, สเปรดอน-เฮลท์คอต, ริคคาตอน-วิแกรม และเฟนดาตัน-ไวมารี และอีกหนึ่งจาก แบงค์ เพนซิลวาเนี่ย.
  • คณะกรรมการบอร์ด (ุจาก 6 พื้นที่ก่อนควบรวมเมือง), แต่ละกลุ่มประกอบด้วย, สมาชิกจำนวน 5 ท่านรวมกับสมาชิกรัฐสภา 2 ท่าน. กลุ่มแบงค์ เพนซิลวาเนีย มีคณะกรรมการบอร์ด 2 กลุ่ม ประกอบด้วยสมาชิกกลุ่มละ 5 คน รวมกับสมาชิกสภา ผู้ที่เป็นหนึ่งในสมาชิกของแต่ละกลุ่ม.
  • สภาเขต พื้นที่่บริเวณโดยรอบ: เขตเซลเว่น, และ เขตไวมาการีรี. สภาเขตแบงค์ เพนซิลวาเนียถูกควบรวมเข้ากับเมืองไครสต์เชิร์ชในเดือนมีนาคม ปี 2006 หลังจากการทำประชามติโดยผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตแบงค์ เพนซิลวาเนีย จึงทำให้สภาเขตแบงค์ เพนซิลวาเนียยุติบทบาทลงในเดือนพฤศจิกายน ปี 2005.
  • สภาภูมิภาคแคนเทอเบอรี่, เป็นที่รู้จักในนามของ "สถาบันสิ่งแวดล้อมแคนเทอเบอรี่", ประกอบด้วย 4 เขตการเลือกตั้งของไครสต์เชิร์ช และมีจำนวนสมาชิกเขตละ 2 ท่านในแต่ละเขต.[1]
  • กลุ่มสุขภาพและอนามัยประจำเขต (แคนเทอเบอรี่), ประกอบด้วยสมาชิก 5 คนสำหรับเมืองไครสต์เชิร์ช.[2]

ในปี 1993, เมืองไครสต์เชิร์ชได้รับการคัดเลือกให้เป็น "เมืองแห่งการวิ่งที่ดีที่สุดในโลก และเป็นที่รู้จักในนามว่า 'รางวัลคาร์ล เบิร์ตเทิลแมน:แห่งรัฐบาลท้องถิ่น' จัดตั้งโดยมูลนิธิเบิร์เทิลแมน เยอรมัน โดยเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการชุมชนมากขึ้นโดยมีการแข่งขันจากผู้ประกอบการเอกชนหลายราย ไครสต์เชิร์ชได้มีส่วนร่วมประการรางวัลโฟนิค, อริโซน่า, สหรัฐอเมริกา.

รัฐบาลท้องถิ่นบางแห่งในเมืองแคนเทอเบอรี่ และหน่วยขนส่งและเดินทางเมืองนิวซีแลนด์ ได้ร่วมกันวางแผนพัฒนารอบเขตเมืองไครสต์เชิร์ช เพื่อสร้างสาธาณูโภคในอนาคตภายใต้แผนพัฒนาเมือง.[3]

การศึกษา

[แก้]
Students playing cricket at Christchurch Boys' High School
Ivey Hall at Lincoln University
The University of Canterbury is a tertiary education provider for Christchurch

โรงเรียนระดับมัธยม

[แก้]

ไครสต์เชิร์ชเป็นที่ตั้งของโรงเรียนมัธยมเบิร์นไซด์ เป็นโรงเรียนที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของนิวซีแลนด์ มีจำนวนนักเรียน 2,506 คน. โรงเรียนมัธยมแคชเมียร์ บนถนนโรส เป็นอีกโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่ที่เข้าร่วมการศึกษา. ในปีที่ผ่านมา โรงเรียนมัธยมปาปานิว เป็นโรงเรียนที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับโรงเรียนที่มีขนาดใกล้เคียงกัน โรงเรียนมัธยมริคคาตัน เป็นหนึ่งโรงเรียนของรัฐแห่งแรกของรัฐที่มีการพัฒนาตามแผนอย่างมีคุณค่า ตามรอยริคคาตัน. และยังมีอีกหลายโรงเรียนที่แบ่งตามตามสถานะทางเพศ เช่น โรงเรียนมัธยมชายเชียเล่ย์ และ โรงเรียนมัธยมชายไครสต์เชิร์ช เป็นโรงเรียนมัธยมชาย 2 แห่งของรัฐ โรงเรียนมัธยมหญิงเอวอนไซด์ และ โรงเรียนมัธยมหญิงไครสต์เชิร์ช เป็นโรงเรียนมัธยมหญิง 2 แห่งของรัฐ.

ไครสต์เชิร์ช มีโรงเรียนเก่าแก่หลายโรงเรียนที่เป็นแบบโรงเรียนสหราชอาณาจักรอังกฤษ เช่น วิทยาลัยเซนต์โทมัสแห่งแคนเทอเบอรี่, วิทยาลัยเซนต์มากาเรต, วิทยาลัยคริสต์, วิทยาลัยเซนต์เบเด, วิทยาลัยมารีน,ไครสต์เชิร์ช, วิทยาลัยเซนต์แอนดรู, วิทยาลัยวิลล่ามาเรีย และ โรงเรียนหญิงแรนจิ รูรู แต่ยังมีหลายโรงเรียนเดิม เช่น โรงเรียนอันลิมิต เพนการ ทาวฮิติ และ วิทยาลัยแฮคเล่.

สถาบันลำดับ 3

[แก้]

จำวนวนสถาบันการศึกษาลำดับ 3 ที่อยู่ในบริเวณพื้นที่เมืองไครสต์เชิร์ช หรือ บริเวณโดยรอบ.

การคมนาคมขนส่ง

[แก้]

ไครสต์เชิร์ช มีบริการโดยสนามบินนานาชาติไครสต์เชิร์ช และระบบขนส่งมวลชน (ทั้งในตัวเมือง และนอกเมืองระยะไกล) และรถไฟ. บริการระบบขนส่งมวลชน เป็นที่รู้จักในชื่อของ เมโทร (ระบบขนส่งสาธารณะ) ตั้งโดยสถาบันสิ่งแวดล้อมแคนเทอเบอรี่. อย่างไรก็ตาม รถยนต์ ยังคงเป็นการเดินทางหลักที่ใช้ในเมือง เช่นเดียวกับสถานที่ต่างๆ ในประเทศนิวซีแลนด์

ไครสต์เชิร์ช มีระบบส่วนต่อขยายเส้นทางเดินรถให้บริการในหลายพื้นที่ในเมือง และบริเวณเมืองโดยรอบ. เส้นทางเดินรถทุกเส้นทางผ่านศูนย์กลางระบบขนส่งใจกลางเมืองก่อนที่จะเกิดเหตุแผ่นดินไหว แต่หลังจากเกิดเหตุแล้วจำนวนผู้โดยสารมีจำนวนลดลงโดยเฉพาะบริเวณใจกลางเมือง เส้นทางระบบสาธารณะได้ถูกเปลี่ยนรูปแบบใหม่โดยมุ่งตรงสู่บริการท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น เราจะเรียกว่า "ฮับ" เช่น ห้างขนาดกลาง, ที่ซึ่งคนหลายคนใช้เดินทางไปยังสถานีใจกลางเมืองผ่านเส้นทางรถสายหลักได้. ก่อนเกิดเหตุแผ่นดินไหวปี 2011, บริการรถสาธารณะโดยทั่วไป, ไครสต์เชิร์ชเป็นผู้บุกเบิกรถสาธารณะ ซีโร-แฟร์ ไฮบริด เช่น ชัตเตอร์ ใช้วิ่งใจกลางเมือง บริการเหล่านี้ได้หยุดชะงักเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว และยังไม่มีความชัดเจนว่าจะเกิดเหตุอีกครั้งหรือไม่ในอนาคต.

ตามประวัติศาสตร์ ไครสต์เชิร์ชเคยเป็นที่รู้จักในเรื่อง นิวซีแลนด์เมืองแห่งการปั่น และในปัจจุบันยังคงดึงดูดชาวนักปั่นได้ถึง 7%. บริเวณใจกลางเมืองมีพื้นดินที่เป็นที่ราบ ดังนั้นสภาเมืองไครสต์เชิร์ชได้สร้างเส้นทางสำหรับปั่นและเส้นทางเดินให้เชื่อมต่อกัน เช่น เส้นทางไซเคิลเวย์ เรลเวย์ หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวได้มีการทำประชามติด้านการสร้างเมืองโดยมีความปรารถนาที่ชัดเจนที่จะปรับปรุงระบบขนส่งให้มีความแข็งแรงและยั่งยืนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะยิ่งการนำการปั่นให้กลับมาอีกครั้ง และผลจากความต้องการนี้ทำให้เรื่องนี้อยู่ในแผนพัฒนาระบบขนส่งโดยสภาเมืองแล้ว.

Christchurch Brill Tram No 178 on the heritage tramway in inner-city Christchurch.

สภาเมืองไครสต์เชิร์ช มีมติอนุมัติเงินจำนวน 68.5 ล้านเหรียญนิวซีแลนด์ ในการสร้างเส้นทางจักรยานที่มีระบบทันสมัยในอีก 5 ปีข้างหน้า.

นับว่าเป็นหน้าที่หลักของระบบเดินรถรางของเมืองไครสต์เชิร์ช และยังเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวด้วย แม้ว่าระบบรถรางจะมีข้อจำกัดในเรื่องของเส้นทางโดยรอบเฉพาะใจกลางเมืองเท่านั้น รถรางมีต้นกำเนิดเมื่อปี 1905 โดยจัดให้เป็นรูปแบบของระบบขนส่งสาธารณะ แต่ก็ยุติการทำงานไปเมื่อปี 1954 และกลับมาให้บริการในบริเวณเมืองชั้นใน(จุดดึงดูดนักท่องเที่ยว) ในปี 1995. อย่างไรก็ตาม หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2011 ระบบรางได้ถูกทำลายลง และถูกปิดล้อมไว้ให้เป็น 'เขตพื้นที่อันตราย' ในบริเวณใจกลางเมือง รถรางกลับมาเปิดใช้งานอีกครั่งในเดือนพฤศจิกายน ปี 2013 ด้วยเส้นทางที่จำกัด แต่มีแผนที่จะขยายเส้นทางในปี 2014 โดยมีแผนจะกลับมาเปิดใช้งานอีกครั้งก่อนที่จะเกิดเหตุแผ่นดินไหว และจะเปิดให้บริการในส่วนต่อขยายจากผ่านห้าง Re:Start และถนนไฮสตรีท แต่การก่อสร้างก็ได้หยุดชะงักเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหวในปี 2011.

บริการด้านรถไฟ ทั้งระยะยาว และผู้เดินทางไปกลับประจำ การเดินทางส่วนใหญ่มักใช้สถานีรถไฟเดิม เส้นทางมัวเฮ้าส์. รถไฟคอมมูเตอร์ถูกยกเลิกทันทีในปี 1960 และปี 1970. บริการครั้งสุดท้ายระหว่างเมืองไครสต์เชิร์ช และแรนจิโอร่า ได้ยุติลงในปี 1976. หลังจากนั้นการให้บริการลดลงจึงได้มีการสร้างสถานีรถไฟไครสต์เชิร์ชแห่งใหม่ขึ้นมาที่แยกแอนดิงตัน เส้นทางหลักสายเหนือ เป็นเส้นที่ไปทางสายเหนือผ่าน ไคกัวรา ถึง พิคตัน และให้บริการผู้โดยสารรถไฟทรานโคสเทิล ในขณะที่เส้นทางหลักสายใต้ มุ่งสู่ อินเวอคากิล ผ่าน ดัลดิน และใช้เป็นเส้นหลักสำหรับชาวใต้ จนกระทั่งถูกยกเลิกในปี 2002. รถไฟที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ ทรานอัลไพร์น เส้นทางขาออกจากไครสต์เชิร์ช ใช้เดินทางจากเส้นทางสายใต้หลักสู่ โรล์เลสตัน และเชื่อมต่อกับสายมิดแลนด์ ผ่านทางเซาท์เทิร์น แอลป์ ผ่านอุโมงค์ โอทิรา และสิ้นสุดที่ เกรย์เม้าส์ ทางด้านชายฝั่งตะวันตก. ทริปการเดินทางนี้เป็นหนึ่งในสิบเส้นทางเดินรถไฟที่น่าประทับใจในโลกในเรื่องการทัศนียภาพที่สวยงามระหว่างทาง บริการรถไฟทรานอัลไพร์นให้บริการนักท่องเที่ยวเป็นหลักและมีผู้เดินทางไปกลับบ้างแต่ปริมาณยังไม่มากเท่ากับนักท่องเที่ยว.

ยานพาหนะที่ชาวนิวซีแลนด์ใช้และเป็นสากลตามสหประชาชาติส่วนใหญ่ จะขับรถทางชิดซ้ายมือของถนน.

วัฒนธรรมและความบันเทิง

[แก้]
The Christchurch Art Gallery
Peacock Fountain in the Christchurch Botanic Gardens
Cathedral of the Blessed Sacrament, partially demolished in the 2011 earthquake

ไครสต์เชิร์ช เป็นเมืองที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก แต่ก็ยังประกอบด้วยองค์ประกอบของชาวยุโรปที่หลากหลาย ด้วยการฟื้นฟูสถาปัตยกรรมแบบกอธิคอย่างมั่นคง. ผู้อาศัยในนิวซีแลนด์ยุคแรก คือ วัฒนธรรมชาวเมาลี ก็ยังแพร่หลายในเมือง ซึ่งปรากฏหลายพื้นที่ในเมือง เช่น พื้นที่สาธารณะ และสวนสาธารณะ, เตียงแม่น้ำ และคาเฟ่ และภัตตาคาร ที่ตั้งอยู่ที่ศูนย์ในกลางเมือง และบริเวณโดยรอบ

โรงภาพยนต์

[แก้]

สมัยก่อนโรงภาพยนต์ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มๆ รอบจตุรัสวิหาร ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 2 โรงภาพยนต์ในบริเวณนี้ "รีเจนท์ คองเพล็กซ์" ถูกสร้างใหม่ในชื่อว่า "รีเจนท์ ออน วอร์เชตเตอร์" ในปี 1996. และในปี 2009 "เมโทร ซีนีม่า" เปิดบนถนนวอร์เชตเตอร์ มีห้องฉายภาพยนยต์ 3 ห้อง

มีเพียงโรงภาพยนตร์ชานเมืองแห่งเดียวในยุคแรก, ฮอลิวูด อิน ซัมเนอร์, ที่ยังคงเปิดให้บริการ. มัลติเพล็กซ์ขนาดใหญ่อยู่ที่ ฮอยต์ 8 ใน สถานีรถไฟสายเก่าบนถนนมัวร์เฮาส์ (ปัจจุับัน ถูกทำลายไปแล้ว) และรีดดิ้ง ซีนีม่า (ยังคงมี 8 ห้องฉาย) ห้างสรรพสินค้าปาล์ม เมืองเชอร์เล่ย์. ฮอยต์ ในเมืองริคคาตันเปิดให้บริการในปี 2005 มีเพียงห้องฉายเดียวซึ่งเคยถูกบันทึกว่าเป็นโรงภาพยนตร์ที่ใหญ่ที่สุดในนิวซีแลนด์

โรงภาพยนตร์เรียวโต บนถนนมัวร์ เฮ้าส์ ใช้เฉพาะฉายภาพยนตร์ต่างประเทศและบ้านแสดงศิลปะ. เรียวโต ยังคงเป็นเจ้าภาพหลักในการฉายเทศกาลภาพยนตร์ และยังเป็นที่หลักของภาพยนตร์ท้องถิ่นอีกด้วย เรียวโตถูกปิดหลังจากแผ่นดินไหวเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2011

ศูนย์แสดงศิลปะ ไครสต์เชิร์ช รวมด้วยโรงภาพยนต์ศิลปะบ้าน 2 แห่ง มี คอยสเตอร์ และ อคาเดมี่ โดยจะเลือกฉายภาพยนต์ร่วมสมัย, ภาพยนต์คลาสสิค และภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศ

สังคมภาพยนตร์แคนเทอเบอรี่ เริ่มต้นที่เมืองนี้

สวนสาธารณะ และธรรมชาติ

[แก้]
Black swans and model yachts on Victoria Lake in Hagley Park and an aerial view of the park, located in the central city.

สวนสาธารณะขนาดใหญ่จำนวนมากและสวนต้นถูกพัฒนาเป็นอย่างดีมีต้นไม้จำนวนมากที่ให้ชื่อแก่เมืองไครสต์เชิร์ชว่าเป็น เมืองแห่งสวน. สวนสาธารณะแฮคเล่ย์ และ เดอะ 30 เฮคเตอร์(75 เอเคอร์) สวนพฤษศาสตร์ไครสตร์เชิร์ช พบเมื่อปี 1863 อยู่บริเวณใจกลางของเมือง ในบริเวณสวนสาธารณะแฮคเล่ย์ มีกีฬาหลายประเภท เช่น กอล์ฟ, คริดเก็ต, เนตบอล และ รัคบี้ และคอนเสิร์ตกลางแจ้งโดยวงท้องถิ่น และวงออเครสตร้า. ทางตอนเหนือของเมืองมีอุทธยานสัตว์ป่าวิลลอร์แบงค์. ทราวิจ เวจแลนด์ มีโปรแกรมฟื้นฟูระบบนิเวศน์ที่จะสร้างให้เวตแลนด์ อยู่ด้านตะวันออกของใจกลางเมือง บริเวณชานเมืองบลูวูด

สถานีโทรทัศน์

[แก้]

ไครสต์เชิร์ช มีสถานีโทรทัศน์ภูมิภาคเป็นของตัวเอง ชื่อ สถานีโทรทัศน์แคนเทอเบอรี่. CTV เปิดตัวครั้งแรกในปี 1991 และทุกวันนี้ยังมีให้เห็นในสัมคมแคนเทอเบอรี่ผ่านรายการโทรทัศน์ที่ผลิตโดยท้องถิ่น. โดยออกอากาศทั้งรายการท้องถิ่น รายการแพร่ภาพทั้งประเทศ และรายการต่างประเทศ ภายใต้ชื่อว่า DW-TV และ อาจาซิล่า เวิร์ด.

วีทีวี รายการโทรทัศน์เกาหลีออกอากาศที่เมืองไครสต์เชิร์ช (เมืองโอ๊คแลนด์ด้วย). โดยเนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษเกี่ยวกับเกาหลี จากอารีรัง เวิร์ด และเนื้อหาภาคเสียงเกาหลีในสถานีโทรทัศน์ SBS. ช่องออกอากาศละครเกาหลีหลายเรื่อง และมักเป็นเรื่องล่าสุดที่ฉายในเกาหลี

เครื่องส่งสัญญาณโทรทัศน์หลักตั้งอยู่บนยอดซูการ์โลฟ ในพอร์ต ฮิลล์ เนื่องจากอยู่ทางตอนใต้ของใจกลางเมือง และออกอากาศช่องโทรทัศน์ระดับประเทศเป็นหลักซึ่งคุณภาพดีเที่ยบเท่าช่องโทรทัศน์ท้องถิ่นทั้ง 2 ช่อง. ช่องโทรทัศน์ทุกช่องในไครสตร์เชิร์ชได้ออกอากาศด้วยสัญญาณดิจิตอลตั้งแต่เปลี่ยนจากสัญญาณอนาลอค ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2013

โรงละคร

[แก้]

ไครสต์เชิร์ช มีโรงละครมืออาชีพ 24 ชม. ชื่อว่า โรงละครคอท พบเมื่อปี 1971 และอยู่ศูนย์แสดงศิลปะเมืองไครสต์เชิร์ช. ด้านข้างของคอท, มีสหกรณ์และศูนย์ทดลอง โรงละครฟรี ไครสต์เชิร์ชถูกสร้างขึ้นในปี 1979 และอยู่ในศูนย์แสดงศิลปะ ตั้งแต่ปี 1982" และที่นี่ยังเป็นโรงละครสำหรับสันทนาการของชุมชนที่นี่อยู่ที่บริษัทโรงละคร เช่น เดอะ ไครสต์เชิร์ช รีเพอทอรี่ โซไซตี้, เอ็มวู๊ด เพลเย่อร์, ริคคาตัน เพลเย่อร์, และ โรงละครเด็ก แคนเทอเบอรี่ ที่ผลิตการแสดงที่มีคุณภาพมากมาย.

วงการเพลง

[แก้]

เมืองนี้เป็นที่รู้จักสำหรับการแสดงสดมาก มีทั้งวงซิมโฟนี่ ออเครสตร้า ที่เก่ง และเป็นบริษัทโอเปร่ามืออาชีพ ชื่อว่า เซาร์เทิร์น โอเปร่า. ไครสต์เชิร์ชเป็นบ้านสำหรับการซ้อมดนตรีในนิวซีแลนด์. เมืองที่เป็นที่ตั้งของวง เช่น เดอะ แบท, เดอะ นาร์, ช็อคกิ้ง พิงค์ และเบลเตอร์ สเปซ.

นักดนตรีเปิดหมวก มักจะมาเล่นดนตรีอยู่บริเวณจตุรัสเมือง และไครสต์เชิร์ชก็เป็นเจ้าบ้านในเทศกาลดนตรีเปิดหมวกระดับโลก ในเดือนมกราคมทุกปี. นักร้อง/นักแต่งเพลง ฮาร์เล่ย์ เวทเทนร่า เปิดตัวผลงานอาชีพสู่นานาชาติด้วยการเปิดหมวกในเมืองไครสต์เชิร์ช. เร็วๆนี้ เธอเซ็นสัญญากับยูนิเวอร์แซล มิวสิค กรุ๊ป นิวซีแลนด์ แล้วต่อมาก็เซ็นสัญญากับค่ายเดคค่า ลาเบล กรุ๊ป ในประเทศอังกฤษ ที่ซึ่งทำให้เธอเป็นนักดนตรีอาชีพในปัจจุบัน.

ไครสตร์เชิร์ชยังคงใช้งานและมีฉากโลหะค่อนข้างใหญ่ ด้วยฉากโลหะนี้ต้องใช้แสดงหลายแห่งรอบใจกลางเมืองเกือบตลอดสัปดาห์.

ไครสต์เชิร์ช ถือเป็นบ้านนิวซีแลนด์ของวง กลอง และเบส และน้อยครั้งที่จะขยายไปเป็นดัพสเตป และดนตรีอื่นๆที่เบสหนัก. การแสดงระดับสุดยอดบางแห่งของนิวซีแลนด์ เช่น เชฟชิฟเตอร์, ทิกิ ทาเน่ และ ทรัสต์ จากเมืองไครสต์เชิร์ช. สถานที่จัดงานและคลับ เช่น เดอะเบสฟอร์ด, มินิททรี่ และ ดับเบิ้ล แฮบปี้ และอื่น ๆอีกมากมายทั้งต่างประเทศและนิวซีแลนด์ ผู้นำการแสดงสดด้านกลองและเบสในเมืองไครสต์เชิร์ช รวมไปทั้งปาร์ตี้เต้นรำ, เรฟ และ กิ๊ก ซึ่งคุณสมบัติทั้งหมดนี้มีในนิวซีแลนด์, กลองท้องถิ่น และ แบส ดีเจ. ประมาณ 2 ถึง 3 ครั้งคืนเดียว หรือวันหยุดสัปดาห์ (เช่น ปี 2010 เมื่อ UK Dubstep DJ Doctor P กับ Crushington เล่นดนตรีที่ เบสฟอร์ดในขณะที่คอนคอท ดาว์น เล่นคู่กับ เทียร์ และบลูเลตพูบ เล่นที่มินิททรี่). ไครสต์เชิร์ชเมืองเอกราช มีสถานีวิทยุ พลูซ่า เอฟเอ็ม ที่เป็นหนึ่งในไม่มีสถานีวิทยุของนิวซีแลนด์ที่เล่นดนตรีกลองและเบสระหว่างวัน

การเคลื่อนไหวเมื่อไม่นานมานี้ ฮิฟ ฮอพ มีชื่อเสียงมากในไครสต์เชิร์ช. ในปี 2000 งานเฟริ์ต ออมีรอย ฮิฟ ฮอฟ ซับมิท แสดงที่นี่ . และในปี 2003 ไครปส์เจ้าของอัลบั้ม ในไครสต์เชิร์ช ได้ออกอัลบัล ดีบุท ในนิวซีแลนด์ และได้รับเป็นผลงานทองคำถึง 5 ครั้งในระดับประเทศ นอกจากนั้นยังมีนักร้องเดี่ยว ทู นับเบอร์วัน อีกเช่นกันที่มีชื่อเสียง

K-pop ถือว่าเป็นที่นิยมช้าในสังคมวัยรุ่นชาวเอซีย ในเมืองนี้

สถานที่ชุมนุม

[แก้]
Christchurch Casino with its playful hybrid of old and new architectural forms

ซีบีเอส แคนเทอเบอรี่ อารีน่า เป็นสนามกีฬาถาวรที่ใหญ่เป็นอันดับสองของนิวซีแลนด์ รองรับที่นั่งระหว่าง 5000 ถึง 8000 ที่ ขึ้นอยู่กับการจัดสถานที่. มันเป็นถิ่นของ แคนเทอเบอรี่ แทคทิต เนตบอล ไซด์. สถานที่นี่ใช้สำหรับ 1999 เวิร์ล เนตบอล แชมเปี้ยนชิฟ และเป็นใช้เป็นสถานที่จัดคอนเสริ์ตหลายครั้งเมื่อไม่กี่ปีมานี้

หอประชุม ไครสต์เชิร์ช ทาวน์ ฮอลล์ (2500 ที่นั่ง เปิดเมื่อ 1972) ได้รับการออกแบบที่ประชุมเป็นครั้งแรกโดยสถาปนิก วอร์เรน และมาฮันนี่ และ อะคอทิเชี่ยน มาแชล เดย์. ซึ่งยังเป็นที่จดจำราวกับเป็นต้นแบบตัวอย่างของการออกแบบคอนเสิร์ต ฮอลล์. และมีไปป์ ออร์แกนที่ทันสมัย ยอดเยี่มแต่ปัจจุบันถูกปิดไปแล้ว

ไครสต์เชิร์ช มีแหล่งคาสิโนและยังมีสถานที่สำหรับแสดงดนตรีสดหลายแบบ บางอย่างอายุสั้น บางอย่างมีประวัติศาสตร์เป็นทศวรรษ คอนเสริ์ตดนตรีคลาสสิค มักถูกจัดที่ไครสต์เชิร์ช มิวสิค เซนเตอร์.

Sport

[แก้]

Teams

[แก้]

Events

[แก้]

note: The Rugby World Cup 2011 was set to host events in Christchurch, but due to the damage to AMI stadium, caused by the February 2011 earthquake, these events were moved to other venues.

Venues

[แก้]
Winter afternoon on the Christchurch coast

Twin towns – Sister cities

[แก้]

Christchurch has seven sister cities around the world. They are:[7]

Notable residents

[แก้]
Nathan Cohen

See also

[แก้]

References

[แก้]

Notes

  1. Environment Canterbury (official regional council website)
  2. Canterbury District Health Board (official district health board website)
  3. "Greater Christchurch Urban Development Strategy". สืบค้นเมื่อ 28 July 2010.
  4. "Christchurch Park History". Christchurch Park.
  5. "Hadlee Stand to be bowled over", ,13 January 2012, Nick Tolerton, stuff.co.nz
  6. "QEII Park Recreation and Sport Centre", CCC Website
  7. "Sister Cities". Christchurch City Council. 19 June 2013. สืบค้นเมื่อ 28 October 2013.
  8. Mark Hinton (3 March 2013). "Nathan Cohen rowing future". Stuff.co.nz. สืบค้นเมื่อ 4 November 2013.
  9. "Lianne Dalziel wins Christchurch mayoralty". 3 News. สืบค้นเมื่อ 4 November 2013.
  10. Shannon Hope. "Colin Jackson's Raise Your Game – The gaffer – Graham Henry". Bbc.co.uk. สืบค้นเมื่อ 4 November 2013.
  11. Jason Ankeny. "Max Merritt | Biography". AllMusic. สืบค้นเมื่อ 4 November 2013.

Bibliography

[แก้]

Official organisations

Culture and information

Tourism and maps

แม่แบบ:Territorial Authorities of New Zealand แม่แบบ:Christchurch City, New Zealand แม่แบบ:New Zealand topics แม่แบบ:Banks Peninsula แม่แบบ:Commonwealth Games Host Cities