ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Jamebailey

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เฟียร์กับ N2O จาก โทรโปสเฟียร์ ค่อนข้างใกล้เคียงกัน การให้ NOy ต่อชั้นบรรยากาศโทรโปสเฟียร์นี้จึงมีค่าน้อยมาก ปฏิกิริยาของ NOy ในบรรยากาศ 1.ปฏิกิริยาโฟโตเคมิคัล (Photochemical) ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นและให้อนุพันธ์ NOy ใช้แสงเป็นตัวกระตุ้นเกิดจาก NO และ NO2 กรดไนตริก(HNO3) จะมีสารอินเตอร์มีเดียทเกิดขึ้นหลายชนิดมีสมบัติแตกต่างกัน บางครั้งจะให้ NOx กลับขึ้นมาอีก NO + O3 → NO2 + O2 + ΔH (1) NO2 + h√ → NO + O (2) O + O2 + M → O3 + M + ΔH (3) Net  : h√ → ΔH ผลรวมของปฏิกิริยานี้ คือ การเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานความร้อนและเป็นการเพิ่มโอโซนอีกทางหนึ่งด้วย


2.การเกิดสารประกอบ NOy อนินทรีย์ 2.1 สารประกอบ HONO และ NOX ( X = Br , Cl ) 2NO2 + H2O(aq) → HONO + HONO2 (4) 2NO2 + X-(aq) → NOX + NO3 (5)

เกิดขึ้นเล็กน้อย เป็นการศึกษาปฏิกิริยาของ NO2   กับเกลือ NaX  อย่างไรก็ดีสารประกอบ  HONO จะเข้าสู่กระบวนการ  Photolytic อย่างรวดเร็ว  ชั้นโทรโปสเฟียร์ได้  ∙OH และ  NO

HONO + h√ → HO∙ + O3 (6) 2.2 ไนเตรต (NO3) ไนเตรตเรดิเคิลมีความสำคัญในกลุ่มสารประกอบ NOy อนินทรีย์ ที่เกิดขึ้นในตอนกลางคืน และขั้นตอนการสร้างไนเตรตนั้นนอกจากในหัวข้อ 2.1 แล้วยังสามารถเกิด NO2 + O3 → NO3 + O3 (7) ไนเตรตเรดิเคิลทำให้เกิดสารประกอบอื่น ทั้งอัลคีน ฟีนอล และสารอินทรีย์ที่มีซัลเฟอร์เป็นองค์ประกอบ 2.3 กรดเปอร์ออกซีไนตริก และคลอรีนไนเตรต ปลดปล่อยสู่บรรยากาศสามารถเกิดปฏิกิริยากับ ไฮโดรเปอร์ออกซี (HO2) คลอรีนมอนอกไซด์ (ClO) ได้กรดเปอร์ออกซีไนเตรตและคลอรีนไนเตรต HOONO2 + h√ → HO2∙ + NO2 (λ=248 nm) → HO∙ + NO3 ClONO2 + h√ → ∙Cl + NO3 (λ=266,355 nm) → O + ClONO ClONO + h√ → ∙Cl + NO2 โมเลกุล ต่อ คลอไรด์ 1 อะตอมในชั้นบรรยากาศ อันเป็นสาเหตุของการเกิดช่องโหว่โอโซนที่จะกล่าวในบทที่ 4 ต่อไป 3.แอมโมเนีย (NO3) แอมโมเนียไม่ถูกจัดเป็นสารประกอบNOyปฏิกิริยาของก๊าซแอมโมเนียสามารถให้ NOx NH3 + OH → NH2 + H2O เอไมด์ (NH2) ปฏิกิริยาต่อกับ NO และ NO2 หรือ O3 NH2 + NO → N2 + H2O NH2 + NO2 → N2O + H2O NH2 + O3 → → → NOx + H2O