ผู้ใช้:B20180/กระบะทราย 11
Coming Soon
[แก้]Welcome to my sandbox 😀
การเปิดดูหน้าเว็บประจำวันของ หน้านี้
กราฟควรแสดงอยู่ที่นี่แต่กราฟถูกปิดใช้งานชั่วคราว จนกว่ากราฟจะเปิดใช้งานอีกครั้ง ดูกราฟเชิงโต้ตอบที่ pageviews.wmcloud.org |
เรื่องที่เขียนในระยะนี้
[แก้]พูดคุย |
เทคนอสเจแปน
[แก้]ไฟล์:Technos by Arc System Works.png | |
ชื่อท้องถิ่น | 株式会社テクノスジャパン |
---|---|
ชื่อโรมัน | Kabushiki gaisha Tekunosu Japan |
ประเภท | Public |
อุตสาหกรรม | Video games |
ก่อตั้ง | December 1981 |
ผู้ก่อตั้ง |
|
เลิกกิจการ | 1996 |
สาเหตุ | Bankruptcy |
ถัดไป | Arc System Works |
สำนักงานใหญ่ | Nakano, Tokyo ประเทศญี่ปุ่น |
บุคลากรหลัก |
|
เทคนอสเจแปน
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ทางการ
- Technōs Japan Corp. ที่ MobyGames
- American Technōs Inc. ที่ MobyGames
- Russian Nekketsu Community
- Polish Nekketsu Community
- Nekketsu Kakutou Densetsu Community
หมวดหมู่:บริษัทผู้พัฒนาวิดีโอเกม
เลจันดรีวิงส์
[แก้]เลจันดรีวิงส์ | |
---|---|
ไฟล์:Legendary Wings game flyer.png Arcade game flyer | |
ผู้พัฒนา | แคปคอม |
ผู้จัดจำหน่าย | แคปคอม |
กำกับ | Takashi Nishiyama |
ออกแบบ | Hiroyuki Kawano Hiroshi Matsumoto Akira Kitamura |
แต่งเพลง | Arcade version Tamayo Kawamoto NES version Tamayo Kawamoto Manami Matsumae |
เครื่องเล่น | Arcade, NES |
วางจำหน่าย | Arcade November 1986[1] NES |
แนว | Scrolling shooter, platform |
รูปแบบ | Up to 2 players, simultaneous |
เลจันดรีวิงส์ (อังกฤษ: Legendary Wings)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Ares no Tsubasa at Capcom's video game gallery" (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 1, 1998.
- ↑ "List of NES games at Nintendo of America" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ April 22, 2009.
หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2529
หมวดหมู่:วิดีโอเกมแบบร่วมมือกัน
หมวดหมู่:เกมสำหรับเพลย์สเตชัน เน็ตเวิร์ก
หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่พัฒนาขึ้นในประเทศญี่ปุ่น
หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่มีตัวละครเอกหญิง
จอห์น บริดจ์
[แก้]John Bridge | |
---|---|
Sub-Lieutenant John Bridge c.1940 | |
เกิด | 05 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1915 Culcheth, Lancashire |
เสียชีวิต | 14 ธันวาคม ค.ศ. 2006 Sunderland | (91 ปี)
รับใช้ | สหราชอาณาจักร |
แผนก/ | Royal Navy |
ประจำการ | ค.ศ. 1940–1946 |
ชั้นยศ | Lieutenant-Commander |
การยุทธ์ | Second World War |
บำเหน็จ | George Cross George Medal & Bar King's Commendation for Brave Conduct |
นาวาตรี จอห์น บริดจ์ (อังกฤษ: Lieutenant Commander John Bridge; 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1915 – 14 ธันวาคม ค.ศ. 2006)
อ้างอิง
[แก้]- "Lieutenant-Commander John Bridge, GC". The Daily Telegraph. 29 December 2006. สืบค้นเมื่อ 15 February 2011.
- "Lieutenant-Commander John Bridge, GC". The Times. 19 December 2006. สืบค้นเมื่อ 15 February 2011.
เชิงอรรถ
[แก้]{{lifetime}}
หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยลอนดอน
หมวดหมู่:ผู้ทำลายล้างวัตถุระเบิด
ธรรมะกับการเมือง
[แก้]ผู้ประพันธ์ | พุทธทาสภิกขุ |
---|---|
ประเทศ | ไทย |
ภาษา | ไทย อังกฤษ จีนกลาง |
ประเภท | หนังสือธรรมะ |
ธรรมะกับการเมือง (อังกฤษ: ???) เป็นหนังสือธรรมะโดยท่านพุทธทาสภิกขุ และได้รับการจัดแปลเป็นภาษาต่างประเทศ ทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาจีนกลาง
เนื้อหาหลัก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]{{โครงพุทธศาสนา}}
ผู้ถือหุ้น
[แก้]ผู้ถือหุ้น (อังกฤษ: Shareholder) คือบุคคลหรือสถาบัน (รวมทั้งบริษัท) ที่เป็นเจ้าของหุ้นอย่างน้อยหนึ่งหุ้นอย่างถูกต้องตามกฎหมายของนิติบุคคลภาครัฐหรือเอกชน โดยผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิพิเศษโดยขึ้นอยู่กับจำนวนหุ้น สิทธินี้อาจรวมถึง:
- สิทธิในการขายหุ้นเหล่านั้น
- สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนที่เสนอชื่อโดยคณะกรรมการ
- สิทธิในการเสนอชื่อกรรมการ (แม้ว่ายากมากในทางปฏิบัติเนื่องจากเป็นเสียงข้างน้อยสำหรับรายย่อย) และมติเสนอผู้ถือหุ้น
- สิทธิในการจ่ายเงินปันผลหากพวกเขามีการประกาศ
- สิทธิที่จะซื้อหุ้นใหม่ที่ออกโดยบริษัท
- สิทธิในทรัพย์สินที่ยังคงอยู่หลังจากการชำระบัญชี
ผู้ถือหุ้นจะได้รับการพิจารณาโดยเป็นส่วนหนึ่งของผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งอาจรวมถึงใครก็ตามที่มีส่วนได้เสียโดยตรงหรือโดยอ้อมในกิจการธุรกิจ ตัวอย่างเช่น
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]{{โครงเศรษฐศาสตร์}}
อุลตร้าซอรัส
[แก้]อุลตร้าซอรัส ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ครีเทเชียสตอนต้น | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Sauropsida |
อันดับใหญ่: | Dinosauria |
อันดับ: | Saurischia |
อันดับฐาน: | Sauropoda |
สกุล: | Ultrasaurus คิม, 1983 |
Species | |
|
อุลตร้าซอรัส (เกาหลี: 울트라노사우루스; อังกฤษ: Ultrasaurus) เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์ซอโรพอด ที่ได้รับการค้นพบโดย คิม ฮางมุค ในประเทศเกาหลีใต้ อย่างไรก็ตาม ชื่อได้ถูกใช้อย่างไม่เป็นทางการเป็นครั้งแรก (ในรูปแบบชื่อตั้งไร้คำบรรยาย) ในค.ศ. 1979 โดย จิม เจนเซ่น ได้อธิบายถึงชุดของกระดูกไดโนเสาร์ขนาดใหญ่ที่เขาค้นพบในประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากคิมได้ตีพิมพ์ชื่อสำหรับตัวอย่างสำหรับการตรวจสอบของเขา ก่อนที่เจนเซ่นได้ทำอย่างเป็นทางการ เจนเซ่นเปลี่ยนชื่อตัวอย่างของเขาใหม่เป็นอุลตร้าซอรอส เซอโรพอดยักษ์ของเจนเซ่นที่พบในภายหลังเป็นคิมีรา และเป็นต้นแบบที่ยังคงกำหนดอยู่ในสกุลซูเปอร์ซอรัส
การประเมินที่ผิดพลาด
[แก้]ชุดกระดูกสะสมที่ได้รับการค้นพบโดยจิม เจนเซ่น แห่งมหาวิทยาลัยบริกแฮมยัง ที่ดรายเมซาเกอรี รัฐโคโลราโด ซึ่งเดิมเคยเชื่อกันว่าเป็นไดโนเสาร์ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รูปพรรณสัณฐาน
[แก้]อุลตร้าซอรัสมีการดำรงชีพอยู่ในช่วง 100 ถึง 110 ล้านปีที่ผ่านมา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]{{โครงไดโนเสาร์}}
พิงค์เลดี้ (มันฮวา)
[แก้]พิงค์เลดี้ | |
---|---|
ภาพปกเล่มแรกโดยยอน วู ภาพปกเล่มแรกโดยยอน วู | |
ชื่อไทย | พิงค์เลดี้ |
ชื่อเกาหลี | 핑크레이디 |
แนว | การศึกษา, รักโรแมนติก |
หนังสือการ์ตูน | |
ผู้แต่ง | ยอน วู |
สำนักพิมพ์ | จูนกัง |
ตีพิมพ์เมื่อ | ค.ศ. 2007 – ค.ศ. 2009 |
จำนวนเล่ม | 7 |
พิงค์เลดี้ (เกาหลี: 핑크레이디; อังกฤษ: Pink Lady) เป็นการ์ตูนเกาหลี เขียนโดยยอน วู (연우) และเป็นการ์ตูนบนเว็บเนเวอร์ ซึ่งบรรยายถึงชีวิตรักของสองศิลปินที่แบ่งปันความทรงจำของความรักในวัยเด็ก
ในช่วงที่นำเป็นการ์ตูนบนเว็บ เรื่องดังกล่าวนี้ได้เสนอเป็นภาพสี ซึ่งตรงกันข้ามกับในฉบับของมันฮวาหรือมังงะ จากความนิยมดังกล่าว ก่อให้เกิดการจัดพิมพ์ในรูปของหนังสือการ์ตูนโดยสำนักพิมพ์จูนกัง (중앙)
ยอน วู ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์ เป็นนักศึกษาในสังกัดมหาวิทยาลัยฮองอิก มหาวิทยาลัยศิลปะที่มีชื่อเสียงที่สุดในเกาหลีใต้ และเป็นสถานที่มีอยู่จริงที่ตัวเอกของเรื่องได้เดินทางไป ซึ่งการ์ตูนมักจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับจิตรกรในชีวิตจริง, การวาดภาพของพวกเขา, วิธีวาดภาพและข้อมูลจริงอื่นๆ
การ์ตูนมักระบุความเชื่อของผู้เขียน ที่ว่าการวาดภาพที่ดีที่สุึดสามารถผลิตได้โดยศิลปินที่เขียนด้วยหัวใจของเขาและเธอ โดยออกมาจากความต้องการของหัวใจและความรักที่แท้จริงสำหรับเรื่องราว
ณ จุดต่างๆ การล้อเลียนของภาพเขียนที่มีชื่อเสียงจะสามารถเห็นได้ในมันฮวา ตัวอย่างเช่น ในฉากซึ่ง กยอ-วูล เพลิดเพลินกับความคิดว่าได้รับเงินจาก โบ-กยอง เป็นการล้อภาพวาดพระเจ้าสร้างอาดัม ของไมเคิล แอนเจโล
ในปัจจุบัน ยังไม่เป็นที่รู้ว่าจะมีแผนสร้างมันฮวาในแบบอนิเมทภายหลังจากเสร็จสิ้นเรื่องดังกล่าวหรือไม่
ฤดูกาล
[แก้]ซีซัน 1 (02/05/2007~30/07/2007) บรรยายถึงชีวิตของ กยอ-วูล จนจบการศึกษาและเผยให้เห็นความสัมพันธ์ที่ผ่านมาของ กยอ-วูล และ ฮย็อนซอก
ซีซัน 2 (20/08/2007~10/12/2007) บรรยายถึงชีวิตของ กยอ-วูล พยายามที่จะให้ได้มีงานทำ และ ฮย็อนซอก เริ่มได้รับอบอุ่นขึ้นอย่างช้าๆเพื่อเธอ ความสัมพันธ์ของพวกเขาใกล้ชิดและใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น ซีซันหักมุมใน กยอ-วูล ซึ่งในท้ายที่สุดได้ตระหนักว่า ฮย็อนซอก มีความรักลึกๆต่อตัวเธอ แม้จะมีการที่เขาแสดงอารมณ์ออกมา
ซีซัน 3 (07/01/2008~07/04/2008) บรรยายถึงชีวิตในโรงเรียนใหม่ของทั้งสอง และมุ่งเน้นไปที่สี่คนรักที่เกี่ยวพันต่อกัน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตัวละครหลัก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การตอบรับ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
มิวสิกวิดีโอ
[แก้]สองเพลงจากการ์ตูนเรื่องนี้ สามารถเข้าชมได้ฟรีตามลิงค์ด้านล่าง โดยแต่ละอันเป็นเรื่องราวหนึ่งของในสองฤดูกาล
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- The list of all Pink Lady toons. (เกาหลี)
- The first Music Video of Pink Lady.
- The second Music Video of Pink Lady.
{{โครงการ์ตูน}}
มหาวิทยาลัยพูคยอง
[แก้]부경대학교 | |
คติพจน์ | 미래를 우리 손으로 Create the Future With our Own Hands |
---|---|
ประเภท | มหาวิทยาลัยแห่งชาติ |
สถาปนา | ค.ศ. 1996 |
อธิการบดีมหาวิทยาลัย | ปาร์ค เมียงอึน |
ผู้ศึกษา | 25,341 คน (เมษายน ค.ศ. 2009) |
บัณฑิตศึกษา | 2,613 คน (เมษายน ค.ศ. 2009) |
ที่ตั้ง | , |
วิทยาเขต | วิทยาเขตแดยอน, วิทยาเขตยองดาง |
เว็บไซต์ | http://www.pknu.ac.kr/ |
มหาวิทยาลัยพูคยอง (เกาหลี: 부경대학교; อังกฤษ: Pukyong National University) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติตั้งอยู่ที่ปูซาน เกาหลีใต้ ซึ่งมหาวิทยาลัยดังกล่าวมีสองวิทยาเขต อันได้แก่ แดยอน-ดอง กับ ยองดาง-ดอง วิทยาเขตเหล่านี้ตั้งอยู่ใกล้ริมฝั่งแม่น้ำนัมกู จากตำแหน่งที่ตั้งนี้เองที่แสดงให้เห็นว่ามหาวิทยาลัยพูคยองมีวิสัยดั้งเดิมที่คงมั่นในด้านวิทยาศาสตร์การประมงและเขตทางทะเลอื่นๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยมีสิ่งอำนวยความสะดวกอยู่ในเกณฑ์ดีมากสำหรับการศึกษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเป็นผู้นำในการนำผลิตภัณฑ์ทางทะเล ตั้งแต่การเริ่มต้นของการประมงน้ำลึกในประเทศเกาหลี บนพื้นฐานความสำเร็จทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาของสมุทรศาสตร์ กับวัตถุประสงค์ของการใช้ทรัพยากรทางทะเลที่ดีที่สุดในปัจจุบัน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Pukyong National University (เกาหลี)
- Pukyong National University (อังกฤษ)
{{โครงสถานศึกษา}}
en:Pukyong National University
มรดกตกทอด
[แก้]ปีเตอร์ ดรักเกอร์ ได้มอบ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]ข้อมูลประกอบการเขียนบทความ
[แก้]- Peter Drucker's Legacy - WSJ.com
- PETER DRUCKER’S LEGACY
- Peter Drucker’s legacy: take responsibility, take action, take a stand
- Managing People and organizations: Peter Drucker's Legacy
เหตุมหัศจรรย์
[แก้]เหตุมหัศจรรย์ เป็นภาพยนตร์การ์ตูนสีเรื่องแรกของไทย โดยเป็นการ์ตูนสั้นความยาว 12 นาที จัดฉายครั้งแรกที่เฉลิมไทยในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 [1][2] และเป็นหนึ่งในภาพยนตร์ 25 เรื่อง ที่กระทรวงวัฒนธรรม เลือกให้เป็นมรดกของชาติเนื่องในวันอนุรักษ์ภาพยนตร์ไทย ประจำปี 2555 [3]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ “เหตุมหัศจรรย์” เป็นภาพยนตร์การ์ตูนไทยเรื่องแรก ยาว 12 นาที
- ↑ เหตุมหัศจรรย์ ภาพยนตร์การ์ตูนสีเรื่องแรกในประเทศไทย
- ↑ ซิเดอร์ บางนา. มายาประเทศ. เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1063. วันที่ 12 ตุลาคม 2555. ISSN 15135705. หน้า 35
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
{{โครงการ์ตูน}}
กระแสเงินสด
[แก้]กระแสเงินสด (อังกฤษ: Cash flow) คือการเคลื่อนไหวของเงินสดที่ไหลเข้าหรือออกในทางธุรกิจ, โครงการ หรือผลิตผลทางการเงิน (คำว่า "เงินสด" ในที่นี้มีความหมายกว้าง ซึ่งรวมถึงเงินฝากธนาคาร) ซึ่งมีหน่วยในการวัดโดยปกติในช่วงเวลาที่กำหนดไว้ การวัดของกระแสเงินสดสามารถนำมาใช้กับวงเงินอื่นที่ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับมูลค่าของบริษัทและสถานการณ์ การคำนวณกระแสเงินสดสามารถใช้ได้ในกรณีดังต่อไปนี้:
- เพื่อตรวจสอบอัตราผลตอบแทนหรือมูลค่าของโครงการ โดยช่วงเวลาของกระแสเงินสดทั้งเข้าและออกจากโครงการนั้นๆ จะใช้เป็นปัจจัยของรูปแบบทางการเงินเช่นอัตราผลตอบแทน และมูลค่าสุทธิปัจจุบันส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]{{โครงเศรษฐศาสตร์}}