ผู้ใช้:ร้อยตรี โชคดี/MOS/Bio
ตำแหน่งทางวิชาการและวุฒิการศึกษา
[แก้]ตำแหน่งทางวิชาการหรือวุฒิการศึกษา (อย่างเช่น "ดร." หรือตำแหน่งทางวิชาการ "ศาสตราจารย์" รวมถึง "รองศาสตราจารย์" หรือ "ผู้ช่วยศาสตราจารย์"), และตำแหน่งทางวิชาการกิตติมศักดิ์, ควรใช้เฉพาะกับหัวข้อชีวประวัติของบุคคลเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งบุคคลนั้นได้ใช้เป็นทั้งนามแฝงหรือนามปรากฎโดยทั่วไป (แม้ว่าจะเป็นตำแหน่งสมมติขึ้นก็ตาม) และปรากฏอยู่ในนามแฝงตามที่อธิบายไว้ข้างต้น (เช่น รูธ เวสต์ไฮเมอร์, หรือรู้จักกันอย่างดีว่า ดร.รูธ ...) อย่างไรก็ตาม ในบทความควรระบุข้อมูลที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับการได้มาของตำแหน่งวิชาการหรือวุฒิการศึกษาไว้ด้วย
คำท้ายนาม (Post-nominal letters) สำหรับวุฒิการศึกษาในบทความของชีวประวัติ (เช่น สตีฟ โจน, ปร.ด.; พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์, PhD) การเพิ่มเนื้อหาวุฒิการศึกษาเช่นนี้ในบทความชีวประวัตินั้นไม่ควรใช้เป็นประเด็นหลัก เพียงแต่อธิบายรายละเอียดบางส่วนเท่านั้น และเพื่อเป็นการขยายความเนื้อหาให้ดียิ่งขึ้น แม้ว่าโดยปกติแล้วจะมีการอธิบายด้วยถ้อยคำที่ดีกว่าก็ตาม จึงควรหลีกเลี่ยงการเพิ่มเนื้อหาดังที่ว่ามานี้
คำท้ายนาม
[แก้]เมื่อบุคคลภายในบทความได้รับเกียรติยศหรือตำแหน่งจากรัฐหรือจากภูมิลำเนาของบุคคลภายในบทความ หรือจากองค์การเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางโดยปรากฏแหล่งข้อมูลสามารถเชื่อถือได้เกี่ยวโยงกับบุคคลภายในบทความอยู่เสมอ คำท้ายนามอาจรวมอยู่ในเนื้อหาหลักของบทความนั้นได้ แต่ไม่ควรรวมอยู่ในประโยคนำของบทความ
ดังนั้น ประโยคนำจึงควรกระชับ: ตำแหน่งทางวิชาการ (รวมถึงตำแหน่งทางวิชาการกิตติมศักดิ์) และวุฒิการศึกษาอาจรวมอยู่ในเนื้อหาหลักของบทความนั้นได้ แต่ไม่ควรรวมอยู่ในประโยคนำของบทความ
คำท้ายนามของเครื่องราชอิสริยภรณ์ซึ่งได้รับมอบจากสหราชอาณาจักร (เช่น KCB, CBE) เมื่อมีประกาศในราชกิจจานุเบกษา (Gazetted) แล้วสามารถเพิ่มเนื้อหานั้นได้ โดยไม่จำต้องมีการแต่งตั้ง (investiture) ก่อนแต่ประการใด ในกรณีเดียวกันนี้ คำท้ายนามของเครื่องราชอิสริยภรณ์ซึ่งพระราชทานโดยพระมหากษัตริย์ไทย (เช่น ม.ป.ช., ม.ว.ม.) เมื่อมีประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วสามารถเพิ่มเนื้อหานั้นได้อย่างเดียวกัน
คำท้ายนามควรใช้เฉพาะจุดที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาหลักของบทความชีวประวัติบุคคล เช่น ในกล่องข้อมูลที่มีพารามิเตอร์คำท้ายนาม หากคำท้ายนามนั้นยังคงเคลือบแคลง และใช้ในบทความเรื่องอื่น เช่น บทความรายชื่อต่าง ๆ นั้น ตัวอย่างเช่น "เศรษฐา ทวีสิน ม.ป.ช. ม.ว.ม." ก็ไม่ควรมีคำท้ายนามปรากฏในบทความรายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย
Formatting post-nominals
[แก้]Where this manual provides options, consistency should be maintained within an article unless there is a good reason to do otherwise. The Arbitration Committee has ruled that editors should not change an article from one guideline-defined style to another without a substantial reason unrelated to mere choice of style, and that revert-warring over optional styles is unacceptable.[a] If discussion cannot determine which style to use in an article, defer to the style used in the first post-stub version of the article to include a post-nominal.
Editors should remember that the meaning of the most obvious (to them) post-nominal initials will not be obvious to some readers. When post-nominal initials are used, the meaning should be readily available to the reader. This may be via a wikilink to an article, or with the {{abbr}}
template (or its underlying <abbr>...</abbr>
markup) which provides a mouse-over tooltip expanding the abbreviation.
This is most easily done using the {{post-nominals}}
template:
- With commas:
Joe Bloggs, {{post-nominals|size=100%|sep=,|country=GBR|VC|OBE}}
gives: Joe Bloggs, VC, OBE - Without commas:
Joe Bloggs {{post-nominals|country=GBR|VC|OBE}}
gives: Joe Bloggs VC OBE
This template needs the |size=100%
parameter when it is used in an infobox, or its output will be too small. Otherwise the |size=100%
parameter is optional with or without commas.
At the least, use a piped link to an article with the appropriate title, e.g.:
Joe Bloggs [[Victoria Cross|VC]] [[Officer of the Order of the British Empire|OBE]]
gives: Joe Bloggs VC OBE
This ensures that readers who hover over the initials see the target article's URL as a hint and in the status bar at the bottom of the window. This manual formatting is only needed for cases where {{post-nominals}}
does not handle the abbreviation in question. If there is nothing to link to, and a redlink is unlikely to result in eventual creation of an article, use the {{abbr}}
template to explain the acronym. Because there is an accessibility issue with relying exclusively on such tooltip cues (touch-sensitive devices and assistive technologies generally do not utilize mouse-cursor hovering), a link is preferred when available.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน