ข้ามไปเนื้อหา

ปล่อยของ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปล่อยของ
ประเภทวาไรตี้โชว์ และ เกมโชว์
พัฒนาโดยบริษัท แก๊งค์ ซูเปอร์ จำกัด (2553-2555)
พิธีกรพลอย หอวัง (2 มกราคม - 24 กรกฎาคม)
ธนารัตน์ พัฒนศิริ (2 มกราคม - 24 กรกฎาคม)
วรชาติ ธรรมวิจินต์ (31 กรกฎาคม - ปัจจุบัน)
ผู้ประพันธ์ดนตรีแก่นเรื่องอาร์เอส
ดนตรีแก่นเรื่องเปิดเพลง ปล่อยของ
ดนตรีแก่นเรื่องปิดเพลง ปล่อยของ
ประเทศแหล่งกำเนิดไทย
ภาษาต้นฉบับไทย
จำนวนตอน30 ตอน
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้างโกศล รัตนสุทธาวดี
สถานที่ถ่ายทำสนามกีฬา เอส-วัน (S-1) (2 มกราคม - 17 กรกฎาคม)
ความยาวตอน25 นาที
ออกอากาศ
เครือข่ายสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์
MCOT1
ออกอากาศ2 มกราคม พ.ศ. 2553 –
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ปล่อยของ (ชื่อเต็ม:ปล่อยของ ประลองฝัน) ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันเสาร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2553 ออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 10.00 - 10.30 น. (หลังข่าวต้นชั่วโมงเวลา 9.55 น.) ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ผลิดรายการโดย บริษัท แก๊งค์ซูเปอร์ จำกัด (ในเครือ บริษัท ซูเปอร์จิ๋ว จำกัด) ดำเนินรายการโดย พลอย หอวัง และ ดีเจแทน-ธนารัตน์ พัฒนศิริ (2 มกราคม - 24 กรกฎาคม) ดีเจพล่ากุ้ง วรชาติ ธรรมวิจินต์ (31 กรกฎาคม - ปัจจุบัน) เป็นรายการเกมโชว์สำหรับคนที่มีความความฝัน เปิดโอกาสให้วัยรุ่นมา "ปล่อยของ" รายการที่เปิดโอกาสให้วัยรุ่นไทยทั่วประเทศ มาประลองฝัน ประลองความสามารถกันอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิด พื้นที่แสดงออก บ่งบอกตัวตน ผ่านสิ่งที่ชอบ โดยไม่จำกัดชนิดและประเภท ผ่านเกมการแข่งขันสุดมันส์ แสดงความสามารถในสิ่งที่ตนเองชอบอย่างเต็มที่อีกด้วย เรียกได้ว่า เป็นรายการที่น่าสนใจอีกรายการหนึ่งเลยทีเดียว โดยมีโปรดิวเซอร์ นันฐ์ฐนัท นิมมาณรานนณ์[1] โดยมีวรรคทองประจำรายการคือคำว่า "ประเทศไทยไม่ใช่แค่กรุงเทพฯ วัยรุ่นไทยไม่ใช่แค่สยามแสควร์ ใครที่บ้าพลัง เข้ามาปล่อยของเราจัดให้"

รูปแบบรายการและการแข่งขัน

[แก้]

รูปแบบที่ 1 จะเป็นการแข่งขันเป็นทีม ทีมละ 3 คน แบบเกมเดียวจอด ถ้าผู้เข้าแข่งท่านใดชนะจะได้เงินรางวัลไป 15,000 บาท สำหรับคนที่แพ้จะได้ครึ่งเดียว 5,000 บาท

รูปแบบที่ 2 ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันเป็นทีมเดี่ยว การแข่งขันในแบบ 2 ใน 3 เกม ผู้เข้าแข่งท่านใดชนะจะได้เงินรางวัล10,000 บาท (จากเดิม 15,000 บาท) สำหรับคนที่แพ้จะได้เงินรางวัล 5,000 บาท รวมไปถึงของรางวัลจากผู้สนับสนุนรายการรวมอยู่ด้วย

รูปแบบที่ 3 จึงมีการเปลี่ยนรูปแบบใหม่เป็นการจัดการแข่งขันที่โรงเรียนทั่วทุกภาคของประเทศไทยเพื่อหาคัดเลือกที่จะมาปล่อยของในวันเสาร์ต่อไป

รายชื่อผู้เข้าแข่งขันที่ออกอากาศแล้ว

[แก้]

ซีซัน 1

[แก้]

ซีซัน 2

[แก้]
วันที่ออกอากาศ ชื่อตอน ผู้เข้าแข่งขัน เกมที่ใช้ในการแข่งขัน ผลการแข่งขัน หมายเหตุ
2 มกราคม B-Boy ทีมBBoy พระสุเมรุ
VS
ทีมBBoy ปากช่อง
ผู้เข้าแข่งขันจะต้องใช้ท่าเต้น 3 ท่า คือท่า Thomas, Master Swipe และ Handstand (หกสูง) ด้วยระยะทางรวม 15 เมตร ทีมไหนเข้าเส้นชัยก่อนถือว่าเหนือชั้นกว่า ทีมBBoy พระสุเมรุ
ชนะ
ทีมBBoy ปากช่อง
แข่งขันทีมละ 3 คน
9 มกราคม สเก็ตบอร์ด ทรัค
ธนกฤต เกษสุวรรณ
(นครสวรรค์)
VS
เอ๊ะ
ณัฐพล คัฒจันทร์
(กรุงเทพฯ)
เกมที่ 1 ทักษะการกระโดดสูง ด้วยความสูง 35 เซนติเมตร (เอ๊ะ ชนะ)
เกมที่ 2 กระโดดข้ามไข่ โดยมีแผงไข่ความกว่าง 10 แถว (ทรัค ชนะ)
เกมที่ 3 เกมตัดสิน แข่งสเก็ตบอร์ดโดยมีเค้กถืออยู่ ระยะทาง 1 เมตร (เพียงสั้น) ใครไวกว่าชนะ (เอ๊ะ ชนะ)
ทรัค นครรสวรรค์
1 คะแนน
:
เอ๊ะ กรุงเทพฯ
2 คะแนน
16 มกราคม ดรัมเมเยอร์ ครีม
นภัสสร เอี่ยมเจริญ
(รร.เตรียมอุดมศึกษา)
VS
แบมบี้
ภัฎฎิณี กลัยานสันต์
(รร.ศรีวิกรม์)
เกมที่ 1 โยนไม่คทาให้สูง โยนแล้วต้องรับมือเดียวได้ 3 ครั้ง ผู้เข้าแข่งกำหนดระยะทางในการโยนได้ตั้งแต่ ระยะทางท่าสูงกว่า จะได้ 1 คะแนน
เกมที่ 2 เกมทดสอบความเป็นผู้นำ โดยจะมีเด็กอนุบาลเป็นดุริยางค์ ใครเข้าเส้นชัยชนะ
ครีม (รร.เตรียมอุดมศึกษา)
2 คะแนน
:
แบมบี้ (รร.ศรีวิกรณ์)
2 คะแนน
ผลการแข่งขันเสมอ
23 มกราคม เต้นCover ฟาง
วรรณบุตร สมบูรณ์รัตน์
(รร.บางกะปิ)
VS
เจสสิกา
เจสสิกา จาง
(รร.ศรีวิกรณ์)
เกมที่ 1 เต้นCover ให้เหมือนห้ามผิดแม้แต่ท่าเดียว เพลงที่ใช้ในการแข่งขันคือ Nobody ของ Wonder girls (เสมอ)
เกมที่ 2 ทักษระจำท่าภายในเวลาที่จำกัด โดยจะนำแผ่นซีดีไปเปิดให้ทั้ง 2 ท่านจดจำท่าให้ถูกต้องภายในเวลา 15 นาที เพลงที่ใช้ในการแข่งขันคือ จี่หอย ของ พี สะเดิด (เสมอ)
ฟาง
(รร.บางกะปิ)
2 คะแนน
VS
เจสสิกา
(รร.ศรีวิกรณ์)
2 คะแนน
ผลการแข่งขันเสมอ
30 มกราคม ฟุตบอล โน้ต
จักรพันธ์ แก้วพรม
(ม.ศรีปทุม)
VS
อังกุโร่
อังกูร ทุ่มโมง
(รร.กรุงเทพคริสเตียน)
เกมที่ 1 เดาะบอลและความแม่นยำในการเข้าประตู ผ่านอุปสรรค ภายใน 1 นาที ใครยิงเข้ามากกว่าได้ คะแนนนี้ไป (โน้ต ชนะ)
เกมที 2 เกมเดาะบอล เข้าตะกร้า ข้ามสิ่งกีดขวาง(อังกูโร่ ชนะ)
เกมที่ 3 ทักษะการเดาะบอลและกะน้ำหนัก ใครเดาะบอลได้มากที่สุดภายในเวลา 1 นาที จะเป็นผู้ชนะ(โน้ด ชนะ)
โน้ต
(ม.ศรีปทุม)
2 คะแนน
:
อังกุโร่
(รร.กรุงเทพคริสเตียน)
1 คะแนน
6 กุมภาพันธ์ จักรยานBMX บอส
อัคร ไชยมาโย
(แชมป์จักรยาน Racing ประเทศไทย) (ม.ศรีปทุม)
VS
บิ๊ก
ณรงค์ กลิ่นสุหร่า
(อันดับ 3 เยาวชนชิงแชมป์เอเชีย) (วิทยาลัยเทคนิค ชลบุรี)
เกมที่ 1 ทักษะการกระโดดไกล โดยไม่ล้ม กำหนดระยะทาง รอบที่ 1 1.50 เมตร รอบที่ 2 2.30 เมตร รอบที่ 3 3.20 เมตร รอบที่ 4 3.50 เมตร ตามลำดับ โดยจะแก้ตัวได้ 2 ครั้ง (บอส ชนะ)
เกมที่ 2 ทักษะการกระโดดสูง กำหนดให้ รอบที่1 50 ซม. รอบที่2 60 ซม. รอบที่3 80 ซม. (บิ๊ก ชนะ)
เกมที่ 3 วัดทักษะด้านจักรยานทั้งหมด โดยนำเกมที่ 1 และ 2 มาแข่งขัน เส้นชัยจะมีลูกบอลห้อยอยู่ ใครรับลูกบอลได้ก่อนผู้ชนะ(บิ๊ก ชนะ)
บอส
(แชมป์จักรยาน Racing ประเทศไทย)(ม.ศรีปทุม)
1 คะแนน
:
บิ๊ก
(อันดับ 3 เยาวชนชิงแชมป์เอเชีย)(วิทยาลัยเทคนิค ชลบุรี)
2 คะแนน
13 กุมภาพันธ์ แมดฮอบ ปาล์ม
อรรถวุฒิ บำรุงธนสาน
(ม.รามคำแหง)
VS
ตี๋
ชัยชนะ ปัจอังคาร
(ม.กรุงเทพ)
เกมที่ 1 วิ่งตีลังกาข้ามสิ่งกีดขวาง กระโดดไกล ข้ามกล่อง ต่อด้วยตีลังกาผ่านความสูง 2 เมตร เป้าหมายคือใครเตะกระดิ่งได้ก่อนได้คะแนนนี้ไป(ตี๋ ชนะ)
เกมที่ 2 ทักษะการกระโดดสูง กำหนดระยะทาง รอบที่1 2.80 เมตร (ปาล์ม ชนะ)
เกมที่ 3 กระโดดข้ามกล่อง กระโดสูงข้ามแท่น และตีลังกา ใครไวกว่าชนะ (ตี๋ ชนะ)
ปาล์ม
(ม.รามคำแหง)
1 คะแนน
:
ตี๋
(ม.กรุงเทพ)
2 คะแนน
20 กุมภาพันธ์ เชียร์ลีดเดอร์ แพท
ณัฐนันท์ โปษกะบุตร
(ม.ธรรมศาสตร์)
VS
เดียร์
เสาวรถย์ ปรีชาวุติ
(จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
เกมที่ 1 ทักษะการจำท่า ในเวลาไม่จำกัด เราจะให้ซีดีเพื่อเปิดให้ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 2 ได้ชม หลังจากนั้นจะเริ่มการแข่งขัน ถ้าผิดจะเสียตามท่าที่ผิด (แพท ชนะ)
เกมที่ 2 ฝึกเชียร์หลีดเดอร์ให้กับเด็กอนุบาล โดยจะใช้เวลาไม่จำกัดในการฝึก ถ้าเสริจแลเวให้รีบกดสัญญาณเพื่อเริ่มแสดง ถ้าไม่พร้อมสามารถแก้ตัวใหม่ได้ เช่นเดียวกับการแข่งขันในเกมแรก (เดียร์ ชนะ)
แพท
(ม.ธรรมศาสตร์)
1 คะแนน
:
เดียร์
(จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1 คะแนน
ผลการแข่งขันเสมอ
27 กุมภาพันธ์ มวยไทย
VS
เทควันโด
แซนดร้า
คาสซานตร้า ฮาลเลอร์
เทควันโด
(ม.อัสสัมชัญ)
VS
มิน
วารุณี ดวงชิน
มวยไทย
(รร.โพธิ์สัมพันธ์พิทยาคาร จ.ชลบุรี)
เกมที่ 1 ทักษะการเตะ โดยจะมีลูกโป่ง เรียงต่อกัน และถูกต้อง ลูกโป่งใครแตกหมดจะได้คะแนนนี้ไป (มิน ชนะ)
เกมที่ 2 ทักษะการเตะแรง ใครเตะลูกบอลได้ไกลกว่า(มิน ชนะ)
แซนดร้า
(ม.อัสสัมชัญ)
0 คะแนน
:
มิน
(รร.โพธิ์สัมพันธ์พิทยาคาร จ.ชลบุรี)
2 คะแนน
6 มีนาคม ยิมนาสติก
VS
สตั๊นต์
(ตีลังกา)
เอ๋ ไวไว
ตะวัน พันสำโรง
(สตั๊นต์แมน)
VS
ต้น
กิติพงษ์ อยู่ดี
(นักกีฬายิมนาสติก)
เกมที่ 1 ทักษะการตีลังกากลับหลัง 20 รอบ ได้เร็วกว่ากัน(เอ๋ ไวไว ชนะ)
เกมที่ 2 การตีลังกาสูง เป้าหมายคือจะมีลูกบอล อยู่ตรงเสาโดยจะบอกระยะทาง มีดังนี้ 2.80 เมตร ตีลังกาให้โดนลูกลูกบอล(ต้น ชนะ)
เกมที่ 3 เกมตัดสินความไว ตีลังกาข้างกล่อง ดีลังกากลังหลังเป้าหมายคือลูกบอล ตีลังกาข้ามสิ่งกีดขวาง เส้นชัยสุดท้ายต้องตีลังกาเตะลูกบอลเล็ก
เอ๋ ไวไว
(สตั๊นต์แมน)
2 คะแนน
:
ต้น
(นักกีฬายิมนาสติก)
1 คะแนน
13 มีนาคม คอสเพลย์
แขกรับเชิญ :โฟกัส จีระกุล
พิม
พรพิมล เลิศนานาวงศ์
(มศว.ประสานมิตร)VS
ฝ้าย
ณัฐกาญจน์ ศุภหัตถานุกุล
(สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น)
เกมที่ 1 พลังคอสเพลย์ดึงดูดใจมหาชน (พิม ชนะ ฝ้าย 30:32)
เกมที่ 2 แสดงความสามารถให้โดนใจ (พิม 30 + 17 ชนะ ฝ้าย 32 + 18)
พิม
(มศว.ประสานมิตร)
47 คะแนน
:
ฝ้าย
(สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น)
50 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
20 มีนาคม มวยไทยหญิง มิน
วารุณี ดวงชิน
(รร.โพธิ์สัมพันธ์พิทยาคาร)
VS
ซาซ่า
อังศนา คำหาญพล
(รร.หนองแคสรกิจพิทยา)
เกมที่ 1 ทักษะแม่ไม้มวยไทย ทักษะการออกอาวุธทั้งหมัด เท้า เข่า ศอก และท่าอื่นๆ พิธีกรจะบอกท่ามวยไทยทั้ง 10 ท่า อาทิ หนุมานถวายแหวน หักคอเอราวัณ ดับชวาลา หิรัญม้วนแผ่นดิน เถรกวาดลาน เอรวัณเสยงา หนุมานทะยาน มอญยันหลัก อิเหนาแทงกริช จระเข้ฟาดหาง เตะให้โดนลูกเทนทิสให้ถูกต้องและแม่นยำที่สุด ใครทำได้ถูกต้อง ได้คะแนนไปในเกมนี้ (มิน ชนะ ซาซ่า 8:6)
เกมที่ 2 ทักษะการเตะ โดยจะมีลูกโป่ง เรียงต่อกัน และถูกต้อง ลูกโป่งใครแตกหมดจะได้คะแนนี้ไป (มิน ชนะ)
มิน
(รร.โพธิ์สัมพันธ์พิทยาคาร)
2 คะแนน
:
ซาซ่า
(รร.หนองแคสรกิจพิทยา)
1 คะแนน
27 มีนาคม ศิลปะป้องกันตัว
(จา พนม)
ธี
ธีระภาพ กรรณภูระเลิศ
(รร.วัดสุทธิวราราม)
VS
ท้อป
รุ่งโรจน์ ภามงคลชัย
(มศว.ประสานมิตร)
เกมที่ 1 ทำได้เหมือนพี่จา พนม โดยจะมีด่านต่าง การเตะให้โดนลูกบอล การเตะแผ่นไม้ กระโดดตีลังกา ตีลังกาหน้าให้โดนบอล และกระโดฟันศอก ใครที่ทำได้เร็วที่สุดได้คะแนนนี้ไป (ด่านละ 2 คะแนน)(ธี เสมอ ท้อป 6:6)
เกมที่ 2 ต้องวิ่งบนใหล่เหยีบลูกโป่งให้ได้คะแนน โดยจะมีลูกทั้งหมด 5 ลูกแต่ละลูกจะมีคะแนนตั้งแต่ 2 - 10 คะแนน(ธี ชนะ ท้อป 12:8)
ธี
(รร.วัดสุทธิวราราม)
12 คะแนน
:
ท้อป
(มศว.ประสานมิตร)
8 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
3 เมษายน รูบิก ไมล์
พิพัฒน์ เจริญพลพันธุ์
(รร.สาธิต มศว.ประสานมิตร)
VS
แม๊ก
ปิติ พิเชษพันธ์
(รร.เซนต์ดอมินิค)
เกมที่ 1 มีรูบิกอยู่ 5 อัน 5 คะแนน ผู้ที่กำนดเวลาคือแขกรับเชิญของรายการจะต้องทำลูกโป่งให้แตก (ไมล์ เสมอ แม๊ก 5:5)
เกมที่ 2 มีรูบิกอยู่ 5 อัน 5 คะแนน และอีก 1 คะแนนแขกรับเชิญเป็นรับโทรศัพท์ ใครเร็จก่อนจะเป็นผู้ชนะ(ไมล์ เสมอ แม๊ก 10:8)
ไมล์
(รร.สาธิต มศว.ประสานมิตร)
10 คะแนน
:
แม๊ก
(รร.เซนต์ดอมินิค)
8 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
10 เมษายน B-Boy
(นักแสดงจาภาพยนตร์เรื่อง BigBoy)
บอล
ณัฐพงษ์ ไชยะราช
(สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขต
สุโขทัย)
(ทีม Platinum Crew)
VS
รอย
รอย แมคดอย
(มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)
(ทีม Ninety nine Flava)
เกมที่ 1 แข่งท่า JackHamer ภายในเวลา 30 วินาที ให้ได้มากที่สุด (รอย ชนะ บอล 13:12)
เกมที่2 ผู้เข้าแข่งขันจะต้องใช้ท่าเต้น 3 ท่า คือท่า Thomas ,Master Swipe และ Handstand(หกสูง)จะต้องเตะลูกโป่งให้แตกทั้งหมด (บอล ชนะ รอย 17:13)
บอล
(สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขต สุโขทัย)
(ทีม Platinum Crew)
17 คะแนน
:
รอย
(มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)
(ทีม Ninety Nine Flava)
13 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
17 เมษายน BB Gun
VS
หนังสติ๊ก
ณัฎฐ์
ณัฎฐ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
BB Gun
VS
แชมป์
พรเทพ ขาวสะอาด
แชมป์หนังสติ๊ก
เกมที่ 1 ให้ยิงเป้าที่มี กระป๋อง กล่องไม้ขีด ไม้หนีบผ้า และ ฝาจีบ โดยระยะทางที่กำหนด (ณัฎฐ์ ชนะ แชมป์ 5:3)
เกมที่ 2 เป็นเกมตัดสิน ให้ยิงกระป๋องให้หมด ภายในเวลาที่กำหนด (ณัฎฐ์ ชนะ แชมป์ 13:12)
ณัฎฐ์
BB Gun
13 คะแนน
:
แชมป์
แชมป์หนังสติ๊ก
12 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
24 เมษายน ฟุตบอล
(ชุด 2)
เอ็ม
อนาวีน จูจิน
นักฟุตบอลทีมชาติไทย(สโมสรบางกอกกล๊าส เอฟซี)
VS
แตงโม
พงษ์พิสุทธิ์ ผิวอ่อน
อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
เกมที่ 1 ทักษะการเดาะบอล ให้เข้าประตู ภายในเวลา 1 นาที(เอ็ม แพ้ แตงโม 1:3)
เกมที 2 เกมเดาะบอล เข้าตะกร้า ภายในเวลา 1 นาที(เอ็ม แพ้ แตงโม 4:6)
เอ็ม
นักฟุตบอลทีมชาติไทย
4 คะแนน
:
แตงโม
อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
6 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
1 พฤษภาคม ลูกดิ่ง
แขกรับเชิญ : แอร์ มัณฑิลา ฟูกลิ่น (จากสตรอเบอรี่ชีสเค้ก)
ไบร์ท
ชยานันต์ จินสุนทร์พันธ์
รร. ปทุมวิไล
VS
จูน
กิติพงษ์ แซ่ตั้ง
รร.วัดสุทธิวราราม
เกมที่ 1 ปัดลูกโทษ โดยแขกรับเชิญขว้างลูกบอล จะต้องใช้ลูกดิ่งปัดไม่ให้ลูกบอลเข้าประตู(ไบร์ท ชนะ จูน 3:1)
เกมที่ 2โดยจะให้ใช้ลูกดิ่งขว้างไปที่กระป๋องให้หมดโดยแขกรับเชิญที่ทำไว้ 48 วินาที
เกมที่ 2 โดยใช้ลูกดิ่ง 2 อัน ปาลูกดิ่งทั้งหมด 10 กระป๋อง เวลาที่แขกรับเชิญทำไว้ 48 วินาที (ไบร์ท ชนะ จูน 13:11)
ไบร์ท
รร.ปทุมวิไล
13 คะแนน
:
จูน
รร.วัดสุทธิวราราม
11 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
8 พฤษภาคม บัลเล่ต์ บลิงก์
ณัชชา ภรณวลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
VS
บุ้ง
อัจฉริยา เสียงใหญ่
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เกมที่ 1
การเต้นแบบหมุนตัว โดยระยะ 1 - 10 คะแนน ให้ใช้เชือกหมุนตัวโดยมีรถคันเล็กวิ่งอยู่ ผู้เข้าแข่งขันท่านใดเข้าเส้นชัยจะได้ 10 คะแนน (บลิงก์ ชนะ บุ้ง 10:9)
เกมที่ 2
โดยผู้เข้าแข่งขันแสดงบัลเล่ต์ โดยมีอุปกรณ์เสริมที่ใช้ในการแสดง โดยมีกรรมการ เป็นเด็กทั้ง 3ท่าน(ส้มโอ มีร่า และ พู)บุ้ง เลือก หูหมี กับ ตุ๊กตาหมี และ บลิงก์ เลือก หูกระต่าย กับ ตุ๊กตาหมี (บลิงก์ ชนะ บุ้ง 18:17)
บลิงก์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
18 คะแนน
:
บุ้ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
17 คะแนน
การแข่งขันแบบเก็บคะแนน
15 พฤษภาคม ละครใบ้(หน้าขาว)
แขกรับเชิญ:แพทตี้ อังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธา
เม้ง
ชัยภัทร ปิติสุตระกุล
มหาวิทยาลัยศรีณครินทร์วิโรจน์ประสานมิตร์
VS
หลุยส์
กฤษณ์ สงวนปิยะพันธ์
คนหน้าขาว
เกมที่ 1 เกมใบ้คำ โดยจะให้ผู้เช้าแข่งขันเป็นคนใบ้และแขกรับเชิญเป็นผู้ตอบ (เม้ง แพ้ หลุยส์ 4:5)
เกมที่ 2ละครใบ้ เม้ง แสดงเรื่อง ชาวนากับงูเห่า และ หลุยส์ แสดงเรื่อง ราชสีห์กับหนู(เม้ง แพ้ หลุยส์ 9:8)
เม้ง
มหาวิทยาลัยศรีณครินทร์วิโรจน์ประสานมิตร์
13 คะแนน
:
หลุยส์
คนหน้าขาว
13 คะแนน
เสมอ
22 พฤษภาคม ยิมนาสติก (หญิง) รัตน์
สิริรัตน์ ลือประเสริฐ (ร.ร.สาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง)
VS
ปันปัน
เต็มฟ้า กฤษณายุธ (ร.ร.มาแตร์เดอีวิทยาลัย)
เกมที่ 1 ทักษะการตีหลังกาถอยหลัง โดยมีตำแหน่งคะแนน 1-10 คะแนน (รัตน์ แพ้ ปันปัน 9:10)
เกมที่ 2 เกมตัดสินโยนรับลูกบอล 4 แบบ มีดังนี้ ลูกบอลยาง ลูกฟุตบอล ลูกเทนนิส และ ส้ม (รัตน์ แพ้ ปันปัน 12:13)
รัตน์
(ร.ร.สาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง)
12 คะแนน
:
ปันปัน
(ร.ร.มาแตร์เดอีวิทยาลัย)
13 คะแนน
29 พฤษภาคม นักร้อง(หญิง) อีฟ
ชญานิศฐ์ บุญโสพิศ (ร.ร.เสสะเวชวิทยา)
VS
พัดชา AF2
พัดชา เอนกอายุวัฒน์(โจทย์)
เกมที่ 1 เพลงต่อเพลงโดยจะต้องร้องเพลงคนละ 2 เพลงให้ถูกต้อง (อีฟ เสมอ พัดชา 2:2)
เกมที่ 2 ดวลเพลงเดียวกัน โดยจะต้องร้องเพลงให้ถูกต้อง โดยจะมี 3 เพลง เพลงละ 1 คะแนน(อีฟ เสมอ พัดชา 3+1:4)
อีฟ
(ร.ร.เสสะเวชวิทยา)
4 คะแนน
:
พัดชา AF2
(โจทย์)
4 คะแนน
โดยพัดชามีเต้มต่อ 1 คะแนน
5 มิถุนายน เทปพิเศษ เทปพิเศษ Back To School(ไม่มีการแข่งขัน)
12 มิถุนายน คนบ้าพลังแขน ท๊อป-ศุภชัย เบ็ญพาด (ยิมนาสติก)
ไทด์-อภินัทธ์ ศรีชั้น (กายกรรม)
ก้อง-ลอองยศ วงษ์เงิน (B-Boy)
เกมที่ 1 พลังแขนกระโดด โดยจะใช้แขนกระโดดข้ามเหล็กแบบไป-กลับ
ใครทำมากสุดได้ 3 คะแนน
อันดับ 2 ได้ 2 คะแนน
อันดับ 3 ได้ 1 คะแนน
(ท๊อป 2 - ไทด์ 1 - ก้อง 3)
เกมที่ 2 เกมตัดสินใช้มือเดินแทนเท้าผ่านด่าน 5 ด่าน
ใครเข้าเส้นชัยอันดับ 1ได้ 3 คะแนน
อันดับ 2 ได้ 2 คะแนน
อันดับ 3 ได้ 1 คะแนน
(ท๊อป 2 - ไทด์ 5 - ก้อง 5)
อันดับ 1 ไทด์ 5 คะแนน
และ ก้อง 5 คะแนน
อันดับ 2 ท๊อป 2คะแนน
19 มิถุนายน ฟรีไสตส์ฟุตบอล โอห์ม
พงศธร สังข์เปลี่ยนแสง
(มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต)
VS
เต้
ดิศรณ์ เลิศชัยฤทธิ์
(มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
เกมที่ 1 โชว์ทักษะเดาะบอลหมุนตัว จะต้องหมุนตัวให้ได้ 1 รอบโดยใช้เวลาในการแข่งขัน 1 นาที(เต้ 12 ชนะ โอห์ม 15 คะแนน)
เกมที่ 2 ทดสอบทักษะ มี 5 ด่าน ด่านละ 2 คะแนน
ด่านที่1 เลี้ยงบอลบนศีรษะแล้วถอดกางเกง
ด่านที่2 กระโดข้ามรั้วโดยจะต้องหนีบลูกบอลไว้
ด่านที่3 ลอดคานโดยลูกฟุตบอลจะต้องอยู่แถวท้ายทอย
ด่านที่ 4 เดาะบอลซิ๊กแซก
ด่านที่5 ประคองบอลแบบฟรีสไตส์ฟุตบอล
(เต้ 18 ชนะ โอห์ม 21)
โอห์ม
(มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต)
21 คะแนน
:
เต้
(มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
18 คะแนน
26 มิถุนายน นักร้อง(ชาย) บิ๊ก
พีระพัฒน์ พิสิษฐ์กุล
(มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
VS
สปาย
ภาสกรณ์ รุ่งเรืองเดชาภัทร์
(มศว ประสานมิตร์)
เกมที่ 1 ให้ร้องเพลงคนละ 2 เพลงให้เนื้อร้องที่ถูกต้อง กำหนด 3 เพลง(สปาย 2 ชนะ บิ๊ก 1)
เกมที่ 2ดวลเพลงเดียวกัน ให้ผู้เข้าแข่งขันร้องเพลงเดียวกันให้ถูกต้อง กำหนด 3 เพลง(สปาย 3 ชนะ บิ๊ก 2)
บิ๊ก
(มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
2 คะแนน
:
สปาย
(มศว ประสานมิตร์)
3 คะแนน
3 กรกฎาคม เทปพิเศษ รวมเด็ดในครึ่งปีแรก
ปล่อยของ กับ ทักษะการเตะฟุตบอล
ตอน ฟุตบอล (ตอนที่ 1)

(ออกอากาศวันเสาร์ที่ 30 มกราคม)
อังกุโร่-อังกูร ทุ่มโมง กับทักษะ เดาะฟุตบอลขึ้นบันได
โน้ต-จักรพันธ์ แก้วพรม ทักษะการยิงประตูให้ถูกกระดิ่ง
ปล่อบของแบบ มัน มัน
ตอน จา พนม (จูเนียร์)

(ออกอากาศวันเสาร์ที่ 27 มีนาคม)
ท้อป-รุ่งโรจน์ ภามงคลชัย กับภาพยนตร์สั้น
ธี-ธีระภาพ กรรณภูระเลิศ ภาพยนตร์สั้น จับโจรขโมยกระเป๋า
ตอน รูบิค
(ออกอากาศวันเสาร์ที่ 3 เมษายน)
แม๊ก-ปิติ พิเชษพันธ์ กับทักษะเล่นรูบิกบนรถไฟเหาะ
ตอน ตีลังกา
(ออกอากาศวันเสาร์ที่ 6 มีนาคม) เอ๋ ไวไว-ตะวัน พันสำโรง กับทักษะตีลังกาข้ามคนได้ 12 คน
ชัยชนะแบบเฉียฉิว
ตอน แมดฮอบ
(ออกอากาศวันเสาร์ที่13 กุมภาพันธ์)
เกมตัดสินระหว่าง ปาล์ม-อรรถวุฒิ บำรุงธนสาน กับ ตี๋-ชัยชนะ ปัจอังคาร โดยช่วงเส้นชัย ตี๋-ชัยชนะ เตะกระดิ่งก่อนเป็นคนแรก
ตอน ตีลังกา
(ออกอากาศวันเสาร์ที่ 6 มีนาคม)
เกมตัดสิน ระหว่าง เอ๋ ไวไว-ตะวัน พันสำโรง กับ ต้น-กิติพงษ์ อยู่ดี ช่วงเส้นชัย ทั้ง 2 ครั้งแรก ตีลังกาเตะลูกบอลไม่โดน เอ๋ เตะไม่โดนลูกบอล ส่วน ต้น เตะเหล็กแต่ไม่โดนลูกบอล ครั้งที่ 2 เอ๋ เตะลูกบอลได้ เอ๋ชนะไป
ตอน จักรยานBMX
(ออกอากาศวันที่6 กุมภาพันธ์)
เกมตัดสินระหว่าง บอส-อัคร ไชยมาโย กับ บิ๊ก-ณรงค์ กลิ่นสุหร่า ช่วงเส้นชัย สุสี คนที่ได้หยิบลูกปิงปองเป็นคนแรกคือ บิ๊ก
ตอน B-Boy
(ออกอากาศวันเสาร์ที่ 2 มกราคม)
เกมตัดสินระหว่าง B-Boy กับ B-Boy พระสุเมรุ
ช่วงก่อนเข้าเส้นชัย สูสี กับท่า หกสูง คนที่ทำหกสูงคือ โอม (ปากช่อง) กับ เซนต์ (พระสุเมรุ) คนที่ได้เข้าเส้นชัยคือ B-Boy พระสุเมรุ
(แต่มีการวิพาษ์วิจารณ์จากท่านผู้ชมบางส่วนว่าเป็นการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม)
10 กรกฎาคม FreeRuning
17 กรกฎาคม คัลเลอร์การ์ด
14 กรกฎาคม ดาวโรงเรียน

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]